บทความ
จำนวนเนื้อหา: 882
- ไทย
- ทุกภาษา
- กุรดี
- คาซัค
- จีน
- ญี่ปุ่น
- ตากาล็อก
- ตาตาร์
- ตุรกิช
- ทาจิกี
- บอสเนีย
- บัลกาเรีย
- ปุชตู
- ฝรั่งเศส
- มาลายาลัม
- มาเลย์
- ยูรูบา
- รัสเซีย
- สวาฮีลี
- สเปน
- อังกฤษ
- อัมฮาริก
- อัลบาเนียน
- อาหรับ
- อินโดนีเซีย
- อิรานน
- อุซเบก
- อุยกูร์
- อุรดู
- ฮอลันดา
- ฮังกาเรียน
- ฮินดี
- ฮิบรู
- เชชเนีย
- เตลูกู
- เนปาล
- เบ็งกอล
- เปอร์เซีย
- เยอรมัน
- เฮาซา
- โซมาเลีย
- โปรตุเกส
- โปแลนด์
- โรมาเนีย
- ไทย
-
PDF
นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดีความสัมพันธ์ระหว่างชะฮาดะฮฺกับประเภทต่างๆของเตาฮีด บทความจากคำฟัตวาของชัยคฺมุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน ซึ่งได้คัดลอกจากหนังสือ “ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต” ของท่าน
-
ประเภทของเตาฮีด ไทย
PDF
นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดีประเภทของเตาฮีด บทความจากคำฟัตวาของชัยคฺมุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน ซึ่งได้คัดลอกจากหนังสือ “ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต” ของท่าน
-
PDF
นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดีฟัตวาว่าด้วยความหมายของเตาฮีด ตอบโดยชัยคฺมุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน เป็นส่วนหนึ่งของฟัตวาจากหนังสือ “ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต” โดยชัยคฺมุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน
-
การทำความสะอาด ไทย
PDF
บทความว่าด้วยการทำความสะอาด ชำระร่างกายจากหะดัษและสิ่งสกปรก และบทบัญญัติต่าง ๆ เกี่ยวกับน้ำ ภาชนะเครื่องใช้ มารยาทการชำระจากการถ่ายทุกข์ สิ่งปฏิบัติที่เป็นธรรมชาติ การอาบน้ำละหมาด การอาบน้ำยกหะดัษ นะญิส การตะยัมมุม การเช็ดบนร้องเท้าและเฝือก
-
PDF
บทความว่าด้วยวิธีการทำความสะอาดจากหะดัษ ไม่ว่าจะเป็นหะดัษเล็กหรือหะดัษใหญ่ และวิธีการละหมาดของผู้ป่วย ผู้เขียนได้อธิบายวิธีการปฏิบัติของผู้ป่วยเมื่อต้องการอาบน้ำละหมาด อาบน้ำยกหะดัษ และการละหมาดไว้อย่างละเอียด เป็นบทความที่มีความสำคัญมากสำหรับผู้ป่วย ทั้งนี้ เพื่อผู้ป่วยจะได้ประกอบศาสนกิจอย่างถูกต้องและตามแนวทางของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
-
PDF
นักเขียน : อับดุลร็อซซาก บิน อับดุลมุห์สิน อัล-อับบาด อัล-บัดรฺ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมานมีปรากฏหลักฐานในอัลกุรอานจำนวนมากที่กำชับใช้ให้มีการขออภัยโทษ ส่งเสริม กระตุ้น และอธิบายถึงผลที่ได้รับ รวมถึงร่องรอยของมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เสร็จสิ้นจากการเคารพภักดี และหลังจากที่ได้ประกอบอิบาดะฮฺอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และเป็นที่ประจักษ์ว่าส่วนหนึ่งจากจริยวัตรของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านจะปิดท้ายการประกอบคุณงามความดีด้วยการขออภัยโทษ (อิสติฆฟารฺ)
-
PDF
การละหมาดตะรอวีหฺซึ่งเป็นสุนนะฮฺที่ประชาชาติอิสลามปฏิบัติสืบทอดกันมาตามแบบฉบับของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และบรรดาเศาะหาบะฮฺ เป็นการงานที่ส่งผลให้เกิดความดีงามนานัปการ เป็นการยืนละหมาดร่วมชั่วโมงต่อหน้าอัลลอฮฺ ได้สัมผัสและซึมซับหลักคำสอนตลอดจนบรรดาอายะฮฺที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ เพื่อเป็นการแนะนำตักเตือนซึ่งกันและกัน ผู้เขียนจึงได้เสนอแนวทางบางประการที่น่าจะช่วยให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการละหมาดตะรอวีหฺได้
-
PDF
ควรเร่งอ่านอัลกุรอานให้จบหรือเน้นตะดับบุร/ใคร่ครวญความหมาย? เป็นคำถามที่บรรดาผู้รู้และนักวิชาการมักพบเจออยู่บ่อยครั้ง โดยเฉพาะในเดือนเราะมะฎอนอันประเสริฐ ซึ่งมุสลิมโดยทั่วไปจะมุ่งมั่นอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน ผู้เขียนใช้เวลาพักใหญ่คิดตรึกตรองทบทวนคำถามข้างต้นนี้ และยังได้มีโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นดังกล่าวกับผู้รู้บางท่าน จนตกผลึกเป็นคำตอบโดยสรุปดังต่อไปนี้ ซึ่งผู้เขียนก็หวังว่าจะเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
-
PDF
นักเขียน : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์เราะมะฎอน คือโอกาสที่ดีสำหรับผู้ศรัทธาที่จะคืนดีกับอัลกุรอาน ด้วยการอ่าน ตะดับบุร และศึกษาความหมาย รวมทั้งการนำมันมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพราะหากไม่ใช่เดือนนี้แล้วก็คงเป็นเรื่องที่ไม่ใช่ง่ายอย่างแน่นอน ดังนั้น เรามาคืนดีกับอัลกุรอานกันเถิด ด้วยการอ่านอัลกุรอานให้จบเล่มอย่างน้อยหนึ่งครั้งในเดือนนี้
-
PDF
นักเขียน : อาดิล บิน อับดุลอะซีซ อัล-มะฮฺลาวีย์ แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมานอธิบายความสำคัญของการอ่านใคร่ครวญอัลกุรอานเพื่อให้เกิดผลต่อการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิต เฉกเช่นที่อัลกุรอานได้เคยสร้างอิทธิพลต่อจิตใจและการเปลี่ยนแปลงในชีวิตของบรรดาสะลัฟมาแล้วก่อนหน้านี้ โดยแนะนำวิธีการบางข้อที่สามารถฝึกฝนและใช้ได้จริง
-
PDF
สุริยุปราคา และจันทรุปราคาเป็นหนึ่งในสัญญานของอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงทำให้บ่าวเกิดความวิตกหวาดกลัว และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บัญญัติว่าเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นจากทั้งสองให้รีบไปสู่การละหมาด สู่การรำลึก และการขออภัยโทษ และอ้อนวอนขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺจนกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะคลายไป เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
-
PDF
อัลลอฮฺทรงบัญญัติหลักปฏิบัติหลายประการสำหรับการละหมาดสุนัต แตกต่างจากละหมาดฟัรฎูเพื่อทำให้เกิดความสะดวกและเป็นการผ่อนปรนให้บ่าวของพระองค์ อาทิ อนุญาตให้ละหมาดบนพาหนะได้ ถึงแม้มันไม่ได้หันไปทางกิบละฮฺก็ตาม ซึ่งในละหมาดฟัรฎูจะทำอย่างนั้นไม่ได้ และอนุญาตให้นั่งละหมาดสุนัตได้แม้ไม่มีสาเหตุสุดวิสัยก็ตามเป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
-
ละหมาดสุนัต ไทย
PDF
การละหมาดเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และเป็นหนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่บ่าวจะใช้มันเพื่อใกล้ชิดกับพระผู้อภิบาลของเขา ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า การทำละหมาดมากๆ นั้นเป็นเหตุให้ได้เข้าสวรรค์ และท่านได้ใช้ให้ผู้ชายละหมาดสุนัตหรือละหมาดที่ไม่ใช่ฟัรฎูในบ้านของเขา เพราะเป็นการทำความดีแบบลับๆ และเป็นการสอนครอบครัว และทำให้พวกเขาเคยชินกับการละหมาด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
-
PDF
ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเป็นอิบาดะฮฺอันประเสริฐที่ท่านนบีรักษามันไว้ และสนับสนุนเศาะหาบะฮฺให้ทำมัน และกล่าวถึงมันว่า –เพราะมันมีผลตอบแทนอันยิ่งใหญ่- ดีกว่าดุนยาและสิ่งทั้งหมดในนั้น และเมื่อท่านเห็นผู้ใดละหมาดสุนัตหลังละหมาดฟัจญ์รฺ ท่านจะแสดงความรังเกียจ แต่พอทราบว่าเป็นการละหมาดชดใช้สุนัตฟัจญ์รฺ ท่านก็นิ่งและยอมรับในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
-
PDF
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำแบบอย่างให้ละหมาดสุนนะฮฺก่อนและหลังละหมาดฟัรฎู และท่านก็ได้ทำมันอย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุนให้รักษามัน และด้วยเหตุนี้จึงเรียกว่าเป็น สุนัตเราะวาติบ(ละหมาดสุนัตที่ทำเป็นประจำ) ดังนั้น มุสลิมควรเอาใจใส่และรักษามันไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
-
PDF
ในอิสลามเพื่อนบ้านนั้นมีสิทธิที่ต้องได้รับ อัลลอฮฺทรงกำชับใช้ในเรื่องเพื่อนบ้าน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็สั่งเสียในเรื่องเพื่อนบ้านเช่นกันและท่านได้กำหนดให้การทำดีต่อเพื่อนบ้านนั้นคือส่วนหนึ่งของการมีอีมานที่สมบูรณ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
-
PDF
อิสลามส่งเสริมให้เชื่อมสัมพันธ์เครือญาติ และให้สร้างความสนิทสนมต่อกัน และห้ามการตัดขาดและการหันหลังให้กัน หรือสิ่งใดๆที่จะชักนำผู้คนไปสู่สิ่งต่างๆเหล่านี้ และเพราะอย่างนี้อัลลอฮฺจึงทรงใช้ให้เชื่อมสัมพันธ์เครือญาติ และเตือนไม่ให้ตัดขาดมัน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เองก็ได้กำชับใช้และส่งเสริมในเรื่องนี้ และบอกว่ามันคือสาเหตุที่ทำให้อายุยืนและมีริสกีกว้างขวาง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
Follow us: