- ไทย ผู้เขียน : อับดุลอะซีซ บิน อับดุลลอฮฺ บิน บาซ แปล : ฮุซเซน หะยีนาแว ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
นี่คือคำอธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับการละหมาดตามแบบอย่างของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ที่ฉันขอนำเสนอแด่พี่น้องมุสลิมและมุสลิมะฮฺ เพื่อให้ทุกคนที่อ่านมันจะได้พยายามใช้เป็นแนวทางในการปฎิบัติตาม ดังที่ท่านนบีได้กล่าวไว้ว่า”ท่านทั้งหลายจงละหมาดเหมือนที่ท่านเห็นฉันละหมาด”.
- ไทย ผู้เขียน : ดร.อับดุลลอฮฺ บิน นาญี อัล-มิคลาฟีย์
การเยี่ยมมัสยิดนะบะวีย์อันทรงเกียรติ พร้อมคำเตือนและคำชี้แนะสำหรับมาผู้เยี่ยม
- ไทย ผู้เขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิทธิโดยธรรมชาติของมนุษย์ที่อิสลามยืนยันรับรอง ผู้เขียนได้กล่าวในบทนำว่า “ส่วนหนึ่งจากความงดงามของอิสลามคือการธำรงไว้ซึ่งความยุติธรรมและให้สิทธิแก่ผู้ที่สมควรได้รับสิทธิอย่างเหมาะสมโดยปราศจาความเลยเถิดและหย่อนหยาน อัลลอฮฺได้บัญชาให้ดำรงไว้ซึ่งความยุติธรรม ทำดีและรักษาสิทธิต่างๆ ของบรรดาญาติมิตร ด้วยเหตุเพื่อธำรงความยุติธรรมนี่เอง ศาสนาทูตทั้งหลายจึงถูกแต่งตั้งขึ้น คัมภีร์ต่างๆ ถูกประทานลงมา และภารกิจทั้งโลกนี้และอาคิเราะฮฺได้ถูกปฏิบัติ ความยุติธรรมหมายถึงการมอบสิทธิแก่ผู้ที่สมควรได้รับสิทธิ ตลอดจนถึงการมอบสถานะอันสมควรแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งสิ่งนี้จะไม่เกิดความสมบูรณ์ยกเว้นเมื่อได้รู้จักสิทธิต่างๆ ที่บุคคลเหล่านั้นพึงได้รับ ดังนั้นข้าพเจ้าจึงได้เรียงร้อยถ้อยคำเหล่านี้เพื่ออธิบายถึงความสำคัญของสิทธิต่างๆ เพื่อที่บ่าวคนหนึ่งจะต้องปฏิบัติตามภาระหน้าที่เท่าที่เขามีความสามารถที่จะกระทำได้ โดยสามารถสรุปสิทธิต่างๆ ได้ดังนี้ 1. สิทธิของอัลลอฮฺ ซุบหานะฮุ วะตะอาลา 2. สิทธิของนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม 3. สิทธิของบิดามารดา 4. สิทธิของบุตร 5. สิทธิของญาติพี่น้อง 6. สิทธิของคู่สมรส 7. สิทธิของผู้นำและผู้อยู่ภายใต้การปกครอง 8. สิทธิของเพื่อนบ้าน 9. สิทธิของชาวมุสลิมทั่วไป 10. สิทธิของพี่น้องต่างศาสนิก สิทธิต่างๆ เหล่านี้คือประเด็นที่เราต้องการอธิบายโดยสังเขปในหนังสือเล่มนี้”
- ไทย ผู้ฟัตวา : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านชัยคฺครับ อะไรคือหุก่มการถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน ? ฟัตวาตอบโดยชัยคฺ มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน จากหนังสือ “ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต”
- ไทย ผู้ฟัตวา : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านชัยคฺครับ อยากทราบว่าอะไรคือความหมายของศิยาม (การถือศีลอด) ในเชิงภาษาและตามหลักวิชาการ ? ฟัตวาตอบโดยชัยคฺ มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน จากหนังสือ “ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต”
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : ฟัยซอล อับดุลฮาดี ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความว่าด้วยวิธีการทำความสะอาดจากหะดัษ ไม่ว่าจะเป็นหะดัษเล็กหรือหะดัษใหญ่ และวิธีการละหมาดของผู้ป่วย ผู้เขียนได้อธิบายวิธีการปฏิบัติของผู้ป่วยเมื่อต้องการอาบน้ำละหมาด อาบน้ำยกหะดัษ และการละหมาดไว้อย่างละเอียด เป็นบทความที่มีความสำคัญมากสำหรับผู้ป่วย ทั้งนี้ เพื่อผู้ป่วยจะได้ประกอบศาสนกิจอย่างถูกต้องและตามแนวทางของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ได้สั่งให้รีบจัดการศพ “พวกท่านจงรีบเร่งจัดการและนำศพไปฝังเถิด เพราะถ้าผู้ตายเป็นผู้ที่ประกอบคุณงามความดี เขาจะได้มีโอกาสรับผลตอบแทนที่ดี แต่ถ้ามิได้เป็นเช่นนั้น พวกท่านก็จะได้วางความชั่วร้ายลงจากบ่าของพวกท่านเสียที” เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย ผู้บรรยาย : ซุฟอัม อุษมาน
คุฏบะฮฺวันศุกร์ สะกิดเตือนเกี่ยวกับความสำคัญของการละหมาด ซึ่งมีเป้าหมายยิ่งใหญ่เพื่อการดำรงชีวิตในฐานะบ่าวของอัลลอฮฺ และเป็นภารกิจที่มีสถานะมากกว่าการเป็นแค่เพียงหน้าที่ประจำวัน แต่ยังเป็นถึงสิ่งที่คอยคุ้มครองและฟื้นฟูพลังใจของมนุษย์ในการต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรคในชีวิต เพราะการละหมาดคือการเชื่อมโยงกับพลังอำนาจของอัลลอฮฺพระผู้อภิบาลแห่งสากลจักรวาลผู้ทรงอำนาจเหนือสรรพสิ่งทั้งปวง
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ภัยของหลุมศพถือเป็นภัยร้ายแรงที่ชัยฏอนมารร้ายใช้เป็นอุบายหลอกล่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบัน ทำให้คนเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดีในการยกย่องหลุมศพ ก่อสร้างบนมัน และละหมาดหันไปทางมันจนกระทั้งไปถึงให้สักการะหลุมศพ ด้วยเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงห้ามยกหลุมศพให้สูง หรือให้มีสิ่งก่อสร้าง หรือละหมาดไปทางหลุมศพ ขณะเดียวกันท่านก็ได้ใช้ให้มีการให้เกียรติ และไม่ให้ทำร้ายผู้อยู่ในหลุมศพด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเยี่ยมสุสานนั้นเป็นสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม มีแบบอย่างไว้ ท่านทำด้วยตัวท่านเองและได้มีคำสั่งให้ทำด้วย เพราะมันทำให้คิดถึงโลกอาคิเราะฮฺ คนที่มีปัญญาเมื่อได้เห็นที่พำนักสุดท้ายของเขาในโลกนี้แล้ว ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเขาจะมีความสมถะ และมุ่งเน้นกับการก่อร่างสร้างบ้านอันถาวรของเขาในโลกอาคิเราะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงสถานะความสำคัญของวันศุกร์ เป็นวันพิเศษที่อัลลอฮฺกำหนดให้เฉพาะกับประชาชาติของท่านนบี มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และกล่าวถึงสิ่งที่ส่งเสริมให้ปฏิบัติในวันศุกร์จากสุนนะฮฺต่างๆ อาทิการทำความสะอาดร่างกาย การไปมัสยิดตั้งแต่เนิ่นๆ การขอดุอาอ์ การเศาะละวาตต่อท่านนบี การอ่านสูเราะฮฺ อัล-กะฮฺฟิ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อเท็จจริงแห่งความตายที่มนุษย์หลีกเลี่ยงไม่พ้น นั่นคือ การที่เขาจะต้องอยู่ในหลุมฝังศพตัวเปล่า ลูกหลาน ครอบครัว และญาติมิตร รวมถึงทรัพย์สมบัติต่างๆ มากมายเท่าไรก็ไม่สามารถช่วยเหลือเขาได้ นอกจากความดีที่เขาประกอบไว้ตอนมีชีวิตอยู่เท่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการละหมาดญะมาอะฮฺ หรือการละหมาดเป็นหมู่คณะที่มัสยิด และกล่าวตักเตือนผู้ที่ละเลยการละหมาดญะมาอะฮฺ โดยรวมหลักฐานต่างๆ ที่พูดถึงเรื่องนี้จากอัลกุรอาน และหะดีษ ผ่านคำอธิบายของอุละมาอ์นักวิชาการอิสลาม รวมถึงได้ชี้แจงถึงความประเสริฐและคุณค่าบางประการของการละหมาดญะมาอะฮฺไว้ด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยท่านเชคมุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ : วิทยเหตุผลที่ได้บัญญัติการละหมาดวันศุกร์(ญุมุอะฮฺ) ความประเสริฐของวันศุกร์ หุก่มการละหมาดญุมุอะฮฺ เวลาละหมาดญุมุอะฮฺ การอะซานญุมุอะฮฺ เงื่อนไขการดำเนินการละหมาดญุมุอะฮฺ ความประเสริฐของการอาบน้ำในวันศุกร์และการไปมัสญิดตั้งแต่เนิ่นๆ เวลาอาบน้ำในวันศุกร์ เวลาออกไปละหมาดญุมุอะฮฺที่ดีที่สุด หุก่มการเดินทางในวันศุกร์ และอื่นๆ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ว่าด้วยการละหมาดญะมาอะฮฺ ประกอบด้วย เคล็ดลับในการบัญญัติการละหมาดญะมาอะฮฺ การชุมนุมที่ยิ่งใหญ่ของบรรดามุสลิม หุก่มการละหมาดญะมาอะฮฺ ความประเสริฐของการละหมาดญะมาอะฮฺที่มัสญิด สถานที่ใดที่ใช้ให้ละหมาดญะมาอะฮฺ หุก่มการออกไปละหมาดที่มัสญิดสำหรับผู้หญิง จำนวนขั้นต่ำในการละหมาดญะมาอะฮฺ หุก่มสำหรับผู้ละหมาดคนเดียวหลังจากนั้นพบว่ามีญะมาอะฮฺละหมาดอยู่ หุก่มสำหรับผู้ที่ไม่ละหมาดญะมาอะฮฺพร้อมอิมามที่มัสญิด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ อธิบายวิธีการละหมาด พร้อมบทดุอาอ์ต่างๆ ในละหมาด ตามขั้นตอนตั้งแต่ เริ่มตักบีรฺ ดุอาอ์อิสติฟตาหฺ อ่านฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺ แบบอย่างจากสุนนะฮฺในการอ่านสูเราะฮฺในการละหมาดทั้งห้า การรุกูอฺ บทดุอาอ์ในรุกูอฺ ดุอาอ์ขณะยืนตรงเมื่อเงยขึ้นจากรุกูอฺ การสุญูด ดุอาอ์ในสุญูด เงยขึ้นสุญูด ดุอาอ์ขณะนั่งระหว่างสุญูด การนั่งตะชะฮฺฮุด สำนวนตะชะฮฺฮุด สำนวนการเศาะละวาต ดุอาอ์ก่อนให้สลาม ให้สลาม โดยยึดรูปแบบตามสุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หิกมะฮฺ(เคล็ดลับ)ที่ได้บัญญัติการละหมาด ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อคำสั่งตามบทบัญญัติ สิ่งบ่งบอกถึงการเชิดชูในข้อคำสั่งทุกอย่างของอัลลอฮฺ ความมั่งคงของจิตใจ หุก่มของการละหมาด ลักษณะของอารมณ์ ความสำคัญของการละหมาด จำนวนเวลาละหมาดที่เป็นวาญิบ(บังคับ) สิ่งบ่งบอกว่าเข้าสู่สภาพบุลูฆฺ(บรรลุศาสนภาวะ) ความประเสริฐของการรอคอยที่จะละหมาด ความประเสริฐของการเดินมุ่งสู่การละหมาดที่มัสญิดในสภาพที่มีวุฎูอ์ หุก่มสำหรับผู้ที่ปฏิเสธการเป็นวาญิบของการละหมาดหรือผู้ที่ละทิ้งการละหมาด ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่ปฏิเสธการละหมาดหรือผู้ที่ละทิ้งการละหมาด สิ่งที่ทำให้เกิดการคุชูอฺ(นอบน้อมสงบเสงี่ยม)ในละหมาด ช่วงเวลาที่มีการเสนอผลการทำดีต่ออัลลอฮฺ ลักษณะการร้องไห้ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ข้อมูลว่าด้วยการเยี่ยมเยียนมัสยิดนะบะวีย์ ณ นครมะดีนะฮฺ ประกอบด้วย ลักษณะพิเศษของมัสยิดทั้งสามแห่ง หุก่มการเยี่ยมมัสยิดนะบะวีย์ ความประเสริฐของการละหมาดที่มัสยิดนะบะวีย์ ความประเสริฐของการละหมาดที่มัสยิดกุบาอ์ จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : รุสดี การีสา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ข้อมูลว่าด้วย การเยี่ยมเยียนกุบูรฺหรือสุสาน ประกอบด้วย หุก่มการเยี่ยมเยียนสุสาน การขอดุอาอ์ต่อผู้เสียชีวิต สิ่งที่ควรกล่าวเมื่อเข้าสู่บริเวณกุบูรฺและเยี่ยมเยียนกุบูรฺ หุก่มการเยี่ยมเยียนกุบูรฺสำหรับมุสลิมะฮฺ ลักษณะต่างๆ ของผู้ที่ไปเยี่ยมเยียนกุบูรฺ หุก่มการเยียมเยียนสุสานของผู้ไม่ใช่มุสลิม สิ่งที่จะติดตามผู้ตายหลังจากที่เขาตายไป หุก่มการทำ กุร็อบ หรืออุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ตาย จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิ่งต่างๆ ที่ทำให้น้ำละหมาดเสียและใช้ไม่ได้ จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
معلومات المواد باللغة العربية
จำนวนเนื้อหา: 324
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
Follow us: