รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม - บทความ
จำนวนเนื้อหา: 134
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเป็นพยานเท็จ หรือเป็นพยานโกหก ถือเป็นบาปที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนประชาชาติของท่าน เพราะมันรวมเอาทั้งการโกหกที่ถือเป็นลักษณะที่น่ารังเกียจที่สุด และทั้งสิ่งที่เป็นเหตุให้มุสลิมต้องสูญเสียสิทธิไป ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงนับเรื่องนี้เป็นหนึ่งในบาปใหญ่ที่ใหญ่ที่สุด และท่านเองทำให้ท่านสะเทือนอารมณ์มากขณะที่ท่านกล่าวเตือนบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่าน จนกระทั้งพวกเขาพากันเป็นห่วงท่าน –ขอความพึงพอพระทัยจงมีแด่พวกท่านทั้งหลายด้วยเถิด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การสาบานต่ออัลลอฮฺนั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ อัลลอฮฺทรงให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ เพราะมันเป็นเครื่องมือทางกฎหมายประการหนึ่งที่ใช้รับรองหรือปฏิเสธสิทธิ์ต่างๆ ได้ การสาบานเท็จจึงอาจทำให้คนเราต้องสูญเสียกรรมสิทธิ์ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการหมิ่นเดชานุภาพของอัลลอฮฺผู้ทรงสูงส่งอีกด้วย ด้วยเหตุนี้บทลงโทษสำหรับผู้ที่โกหกในเรื่องนี้จึงเป็นบทลงโทษที่สาหัสรุนแรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่ถูกเรียกร้องให้มีในทุกเรื่อง และเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องใช้มันในการปฏิบัติต่อลูกๆ และในการอบรมสั่งสอนพวกเขา จะได้ไม่บ่มเพาะความไม่พอใจ หรือความเกลียดชังกันในระหว่างพวกเขา ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงไม่ยอมเป็นสักขีพยานในการบริจาคของคนที่ไม่ให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ และเรียกมันว่า ความไม่เป็นธรรม และท่านใช้ให้มีความยุติธรรมต่อลูกๆ และบรรดาสะลัฟเองพวกเขาก็ชอบให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ ของพวกเขา แม้กระทั่งในเรื่องการหอมลูกก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ประการหนึ่งในเรื่องที่พ่อแม่หลายๆคนปล่อยปละละเลยคือ การสอนสั่ง ชี้แนะ และให้คำตักเตือนลูกๆของพวกเขา ไม่ใช่ใช้แต่วิธีรุนแรง หรือตวาดกับความผิดพลาดของพวกเขา แต่ให้เริ่มด้วยกับการแสดงความมุ่งหวังและความเป็นห่วงกังวลต่อพวกเขา เพราะเป็นทางที่จะได้รับการยอมรับที่ดีที่สุด และไม่ควรปล่อยปละละเลยพวกเขาโดยอ้างว่าพวกเขาเด็กอยู่ยังไม่เข้าใจ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
วิธีการสอนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดประการหนึ่งคือ การอบรมสั่งสอนโดยการเป็นแบบอย่างที่ดี โดยการให้พวกเขาได้เห็นลักษณะที่น่าชื่นชมที่เราต้องการสั่งสอนพวกเขา อยู่ในตัวพ่อแม่และคนรอบข้างพวกเขา และเมื่อเราต้องการเห็นเขาพูดความจริง เราก็อย่าไปโกหกเขา และเช่นกันอนุญาตให้เด็กเล็กได้เล่นสนุกสนานที่เป็นที่อนุมัติได้บ้าง เพราะจิตใจของพวกเขายังไม่ชินกับการเอาจริงเอาจัง จึงควรอนุญาตให้พวกเขาได้มีการสนุกสนาน โดยให้อยู่ในการดูแลและการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในการปฏิบัติต่อเด็กๆ นั้น ท่านเป็นตัวอย่างที่ดีในการอบรมเลี้ยงดูเด็กๆ ของพวกเรา และเราต้องปฏิบัติต่อลูกๆ หลานๆ ของพวกเรา เหมือนกันที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ปฏิบัติกับลูกๆ ของบรรดาเศาะหาบะฮฺ และเราได้เห็น เช่น การหยอกล้อกับเด็กๆ การให้เกียรติพวกเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลูกๆ นั้น เป็นความรับผิดชอบที่อยู่บนภาระรับผิดชอบของบิดาของพวกเขา และการอบรมบ่มนิสัยก็เป็นหน้าที่รับผิดชอบของเขา พวกเขาคือความรับผิดชอบของเขา และเขาจะถูกสอบถามถึงหน้าที่รับผิดชอบนั้น เป็นเรื่องจำเป็นที่เขาจะต้องคอยตักเตือนพวกเขา และต้องคอยสร้างคอยปรับ ต้องคอยสั่งสอนพวกเขาให้เป็นไปตามที่อัลลอฮฺทรงประสงค์ มันเป็นหน้าที่ที่เขาต้องทำ เป็นภาระต้นๆ ของเขา และไม่ใช่เพียงแค่การหาอาหาร เครื่องดื่ม และเสื้อผ้าให้ แล้วก็ยุ่งกับงานดุนยาจนปล่อยปละละเลยพวกเขา และหากเขาทำเช่นนั้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว เขาจะต้องมานั่งโศกเศร้าเสียใจในดุนยาเมื่อพวกเขาโตขึ้นมา และในวันอาคิเราะฮฺเมื่อเขาถูกถามถึงเหตุที่ปล่อยปะละเลยหน้าที่รับผิดชอบต่อพวกเขานั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หัจญ์มับรูรนั้นคือหัจญ์ที่สมบูรณ์แบบ ปราศจากสิ่งที่ทำให้ผลบุญบกพร่อง มันเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นที่รักของอัลลอฮฺมากที่สุด เพราะในนั้นมีการแสดงความเป็นบ่าวของมนุษย์ต่ออัลลอฮฺในหลากหลายรูปแบบ อัลลอฮฺทรงสัญญาว่าจะตอบแทนรางวัลอย่างใหญ่หลวง และจะทรงให้อภัยต่อบาปต่างๆ จนกระทั่ง มุสลิมผู้ทำหัจญ์กลับภูมิลำเนาไปในสภาพขาวสะอาดปราศจากบาปเหมือนกับตอนที่แม่เขาเพิ่งจะคลอดเขาออกมา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า หัจญ์ของทารกน้อยคนนั้นใช้ได้ และคนที่พาเขาไปทำหัจญ์ก็ได้รับผลบุญด้วย เช่นเดียวกันนั้น ท่านก็ได้ห้ามผู้หญิงไม่ให้เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อมไปด้วย ถึงแม้ว่าออกไปเพื่อทำหัจญ์ก็ตาม และใช้ให้ผู้ชายพักสงครามและการญิฮาด และให้ออกไปกับภรรยาของเขาที่จะไปทำหัจญ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิบวันของซุลหิจญะฮฺนั้นประเสริฐกว่าวันอื่นตลอดทั้งปี ณ ที่ของอัลลอฮฺ และการทำความดีในช่วงดังกล่าวนั้นถือเป็นการงานที่อัลลอฮฺทรงรักมากที่สุด และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กำหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะเชือดกุรบาน ไม่ให้ตัดสิ่งใดจากเส้นขนหรือเล็บออก จนกว่าเขาจะเชือดกุรบานของเขาเสียก่อน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หัจญ์เป็นหนึ่งในหลักการปฏิบัติทั้งห้าอันยิ่งใหญ่ อัลลอฮฺทรงบังคับผู้ที่มีความสามารถให้ทำสักครั้งหนึ่งในชีวิต และทรงทำให้การทำหัจญ์นั้นเกิดประโยชน์อย่างมากมายแก่บรรดามุสลิมทั้งทางด้านศาสนาและทางโลก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มักกะฮฺเป็นเมืองที่อัลลอฮฺทรงกำหนดให้มันเป็นที่ต้องห้าม จะตัดต้นไม้พืชพรรณ์ที่ขึ้นเองไม่ได้ จะล่าดักสัตว์เปรียวไม่ได้ ต้องให้มันอยู่ในนั้นได้อย่างปลอดภัย จะหยิบของตกก็ไม่ได้ (ของตก)คือของที่คนเราพบเจอมันหล่นอยู่ และไม่ทราบใครเป็นเจ้าของ แต่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม อนุญาตให้ฆ่าสัตว์ที่เป็นอันตรายได้ และเรียกมันว่าสิ่งชั่วร้าย(ฟะวาสิก) เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิบวันแรกของซุลหิจญะฮฺนั้นประเสริฐกว่าวันอื่นในรอบปี ณ ที่ของอัลลอฮฺ และการทำความดีในช่วงดังกล่าวนั้นถือเป็นการงานที่อัลลอฮฺทรงรักมากที่สุด และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กำหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะเชือดกุรบาน มิให้เอาสิ่งใดจากเส้นขน หรือเล็บออก(คือ ห้ามตัดห้ามถอน –ผู้แปล) จนกว่าเขาจะเชือดสัตว์เชือดของเขาเสียก่อน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป็นเมตตาของอัลลอฮฺและเป็นความโปรดปรานอันไพศาลของพระองค์ประการหนึ่งคือ มุสลิมเราเมื่อปลูกต้นอินทผลัมหรือต้นใดๆก็ตาม แล้วทุกสิ่งทุกอย่างที่มีนก สัตว์หรือคนมาบริโภคมัน ก็จะถือเป็นเศาะดะเกาะฮฺของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในหะดีษเหล่านี้มีกฎเกณฑ์บางอย่างของการค้าการขาย ที่คนหลาย ๆ คนมักพลาดพลั้งกระทำผิดไป ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงได้เตือนไว้เพราะมีผลดีทั้งทางด้านศาสนาและดุนยา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การยิ้มให้พี่น้องของท่านเป็นหนทางที่ง่ายที่สุดที่จะเข้าถึงหัวใจของเขาและช่วยขจัดความริษยาหรือความรู้สึกอื่น ๆ ที่เขามีต่อท่านได้ และด้วยเหตุนี้เองท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ชี้แนะสีหน้าของมุสลิมมีรอยยิ้มที่ฉายไปยังพี่น้องมุสลิมของเขา และการยิ้มของเขานั้นก็เป็นเศาะดะเกาะฮฺของเขาด้วย และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เองก็ยิ้มอย่างมากมายให้กับบรรดาเศาะหาบะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การหัวเราะมาก ๆ นั้นไม่ใช่เป็นแบบฉบับของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ทว่าท่านเองก็ได้เตือนเอาไว้ และบอกว่าการหัวเราะมากๆนั้นเป็นสาเหตุให้หัวใจตายด้าน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ศาสนาของชาวมุสลิมเป็นศาสนาที่ดำรงอยู่บนความเมตตา พระผู้อภิบาลของพวกเขาก็เมตตาต่อพวกเขา นบีของพวกเขาก็เมตตาต่อพวกเขา และอัลลอฮฺทรงกล่าวถึงลักษณะของพวกเขาไว้ว่าพวกเขานั้นมีเมตตาต่อกัน และคุณธรรมของความเมตตานั้นเป็นคุณธรรมที่น่ายกย่องที่อัลลอฮฺรัก และทรงบอกผ่านทางท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ว่า ผู้ที่มีเมตตาเท่านั้นที่จะเมตตาต่อบ่าวของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความอ่อนโยน รอบคอบและไม่วู่วามเป็นลักษณะที่อัลลอฮฺทรงรัก และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้กระทำ และมันเป็นเหตุนำสิ่งที่ดีๆให้เข้ามา เพราะเป็นการทำให้ความเมตตา อาทรและความอ่อนโยนแพร่หลายในระหว่างพี่น้องมุสลิม ส่วนความโหดร้าย กักขระ และความรุนแรงเป็นกริยามารยาทอันน่าตำหนิที่อัลลอฮฺทรงกริ้ว ศาสนาอิสลามห้ามปรามไว้ และสมควรที่มุสลิมจะห่างไกลกับมัน เพราะเป็นสิ่งที่เกิดจากความผยองลำพองตน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความละอายเป็นมารยาทที่เกิดขึ้นมาเพื่อให้อยากละทิ้งสิ่งที่ทำให้จิตใจแปดเปื้อน มันมาจากการมีศรัทธา เพราะมันจะชวนให้ทำดีและให้ห่างจากสิ่งน่ารังเกียจ และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า มันทั้งหมดเป็นสิ่งดีงาม และนำมาแต่สิ่งที่ดีงาม และท่านนบีเอง ก็เป็นผู้ที่มีความละอายอย่างมาก และความละอายที่ประเสริฐที่สุดคือความละอายต่ออัลลอฮฺ อายที่พระองค์จะเห็นท่านทำสิ่งที่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก