สะอัด วารีย์ - บทความ
จำนวนเนื้อหา: 131
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เมื่อเกิดแผ่นดินแห้งแล้ง ไม่มีฝนตก ให้มุสลิมทั้งหลายออกมาละหมาดขอฝนและการขอช่วยเหลือจากอัลลอฮฺ ในสภาพผู้ต่ำต้อย ผู้นอบน้อม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
แผ่นดินเกิดแห้งแล้งขึ้นในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม แล้วก็มีชายคนหนึ่ง ขณะที่ท่านเราะสูล กำลังคุฏบะฮฺวันศุกร์อยู่นั้น ได้ลุกขึ้นมาขอให้ท่านขอฝนจากอัลลอฮฺให้พวกเขา แล้วท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็ได้ขอดุอาอ์ในระหว่างคุฏบะฮฺ แล้วก็มีฝนตกลงมาในขณะนั้นทันที ตกเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์เต็ม จนกระทั้งพวกเขาพากันมาขอให้ท่านขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺให้ฝนหยุดตก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ฝนเป็นเนียะมัตและความโปรดปรานจากอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงมอบมันแก่บ่าวที่พระองค์ทรงประสงค์ และการพาดพึงเนียะมัตเหล่านี้กับการ(โคจร)เข้ามาของดวงดาว หรือฤดูกาล ถือเป็นการปฏิเสธเนียะมัตของอัลลอฮฺ ตะอาลา ทว่าเป็นหน้าที่(ของเรา)ที่จะต้องพาดพิงให้กับความโปรดปรานของอัลลอฮฺองค์เดียวเท่านั้น และดวงดาว และฤดูกาลเหล่านี้ไม่ใช่อื่นใดนอกจากเป็นสภาพการณ์ที่อัลลอฮฺทรงทำให้เกิดมีริซกีแก่บ่าวของพระองค์ตามประสงค์ และไม่มีผู้ใดล่วงรู้ถึงการตกลงมาของฝนนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หนึ่งในงานที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำคือการไปเยี่ยมคนป่วย เพราะเป็นการช่วยให้ผู้ป่วยไม่คิดฟุ้งซ่านและทำให้เขามีจิตใจดีขึ้น มันเป็นสิทธิของมุสลิมต่อพี่น้องมุสลิมด้วยกัน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า มันมีผลบุญอย่างมหาศาล เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ทั้งในบ้านและกับครอบครับ ท่านก็เป็นตัวอย่างของมารยาทอันสูงส่งที่ผู้ปฏิบัติตามท่านต้องทำตาม ท่านเมื่ออยู่ที่บ้านจะบริการครอบครัว ท่านจะสุขุมและอดทนกับพวกเขา ไม่คอยต่อว่าต่อขานแม้แต่กับเด็กรับใช้ และท่านก็หยอกล้อกับคนในครอบครัว ท่านเคยเล่นแข่งกับพวกเขาในช่วงเดินทางเพื่อให้พวกเขาได้ผ่อนคลายและเติมความสุขให้พวกเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัต-ตะยามุน คือ การเริ่มด้วยข้างขวาก่อน การให้ข้างขวาก่อนนั้นเป็นเรื่องการให้เกียรติ เป็นสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเป็นเครื่องหมายประจำตัวของคนมุสลิม และอีกทั้งยังเป็นการทำสวนทางกับชัยฏอนที่มันทำเรื่องต่างๆ ด้วยข้างซ้ายของมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความขันติมและความอดทนของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม กับกลุ่มชนของท่านและจำเป็นที่นักเผยแพร่ต้องเอาอย่างท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในความสุขุม ความอดทนต่อการประทุษร้ายของคนอื่น ๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความเป็นศัตรูของชัยฏอนที่มีต่อมนุษย์นั้นได้รับการยืนยันแล้ว ไม่มีข้อสงสัยใดๆ อัลลอฮฺทรงกล่าวถึงมันไว้ในอัลกุรอานเพื่อเตือนบ่าวของพระองค์ถึงแผนการร้ายของมัน ซึ่งก็คือมันจะไม่ปล่อยสิ่งใดที่อาจก่อความบาดหมางกัน นอกจากมันจะทำและพยายามถึงที่สุดในเรื่องดังกล่าวนั้น และหนึ่งในนั้นก็คือ การก่อฟิตนะฮฺและความบาดหมางระหว่างกันที่จะส่งผลให้เกิดความแตกแยก การหันหลังให้กัน และการรบราฆ่าฟันกันในระหว่างมุสลิมด้วยกัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป็นเมตตาของอัลลอฮฺอย่างหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงทำให้ทุกสิ่งที่มาประสบกับมุสลิมในโลกดุนยานี้ทั้งที่เป็นโรคภัยหรืออื่นๆ นั้นเป็นการลบล้างความผิดต่างๆ ของเขาด้วย ดังนั้นทุกอย่างที่มาประสบของมุสลิม เมื่อเขาอดทนกับมัน สำหรับเขาแล้วมันคือสิ่งที่ดีที่มาจากอัลลอฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เพื่อนและคนใกล้ตัวนั้นมีผลอย่างมากกับคนเรา และโดยมากแล้วคนเราจะมีมารยาทตามอย่างมารยาทของเพื่อนๆของเขา ไม่ว่าจะดี หรือเลวก็ตาม ด้วยเหตุนี้เองท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงส่งเสริมให้เลือกเพื่อนที่ดี และเปรียบเทียบเพื่อนที่ดีว่าเหมือนกับคนขายน้ำหอมที่อย่างไรก็ไม่เสียประโยชน์ ตรงกันข้ามกับเพื่อนที่เลวที่ท้ายสุดเขาจะต้องพาท่านไปตามสิ่งที่ไม่ดีของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอดทนมีสถานภาพยิ่งใหญ่ในศาสนา เพราะเรื่องศาสนาทั้งหมดนั้นยืนอยู่ได้ด้วยความอดทน คือการอดทนในการเชื่อฟังอัลลอฮฺ และอดทนไม่ทำสิ่งที่เป็นข้อห้ามของอัลลอฮฺ และอดทนต่อกำหนดสภาวะการณ์ต่างๆของอัลลอฮฺ และผู้ที่อดทนนั้น คือผู้ได้กำไร เพราะเขาเชื่อฟังอัลลอฮฺ และหวังผลบุญจากพระองค์ และเพราะความหวาดกลัวและความโกรธแค้นนั้นไม่สามารถเปลี่ยนกำหนดใดๆ ได้ หากแต่มันจะกลับกลายเป็นโทษแก่เจ้าของมันเอง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การแปรงฟันนั้นคือการชำระล้างและทำความสะอาดปาก และเป็นสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามช่วงเวลาที่กำหนดให้ทำความสะอาดเช่น การละหมาด หรือเมื่อมีกลิ่นปาก ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ชอบการแปรงฟัน และท่านแปรงฟันบ่อยครั้งมาก และหลายครั้งที่ท่านใช้บรรดาเศาะหาบะฮฺทำการแปรงฟัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การกลัวอัลลอฮฺเป็นอิบาดะฮฺทางใจที่ยิ่งใหญ่ อันจะเกิดขึ้นไม่ได้นอกจากจะออกมาจากผู้ศรัทธาที่มีความศรัทธาอย่างจริงใจเท่านั้น ด้วยเหตุนี้มันจึงมีสถานะภาพที่สูงส่งและมีความประเสริฐอย่างยิ่ง และความกลัวที่น่าสรรเสริญอันนี้คือสิ่งที่จะผลักดันให้เจ้าของมันทำความดีต่างๆ และคอยยับยั้งเขาไม่ให้ทำสิ่งต้องห้ามต่างๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงใช้ให้ทำตามสัญญา และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม นับว่าการทรยศนั้นคือ การที่คนๆหนึ่งทำสัญญาสิ่งหนึ่งเอาไว้แล้วไม่ทำตาม ถือเป็นลักษณะหนึ่งของมุนาฟิก(คนกลับกลอก) และได้บอกอีกว่าในวันกิยามะฮฺจะมีธงขนาดใหญ่ให้คนทรยศถือ และจะถูกกล่าวขึ้นว่า นี้คือการทรยศคนนั้นคนนี้เพื่อจะได้เปิดโปงเขาต่อผู้คนทั้งหลาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การโกรธนั้นเป็นมารยาทที่น่าตำหนิ โดยมากแล้วจะดึงเจ้าของมันให้ทำในสิ่งที่เขาไม่อยากทำ มันมาจากชัยฏอน ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงสั่งเสียให้ห่างไกลจากมัน และชี้แนะให้ลดขอบเขตของมันยามเมื่อตกอยู่ในความโกรธ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การตักเตือนพี่น้องมุสลิมเป็นเรื่องวายิบ และเป็นเรื่องของศาสนา และการคดโกงในการค้า การขาย และอื่นๆ นั้น เป็นการฝ่าฝืน และถือเป็นบาปใหญ่ ที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนไว้ และบอกกล่าวอีกว่าผู้ใดที่คดโกงมุสลิม เขาก็ไม่ใช่พวกของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในวันกิยามะฮฺ ผู้คนจะประสบกับความเหน็ดเหนื่อยตรากตรำอย่างหนักหน่วง ดวงอาทิตย์เข้ามาใกล้พวกเขาเพียงไมล์เดียว แล้วความอึดอัดความคับอกคับใจมีมากถึงขั้นที่ไม่มีใครล่วงรู้ได้นอกจากอัลลอฮฺ แต่ในสภาพการณ์แบบนี้ ยังมีผู้คนที่ได้อยู่ในร่มเงาของพระผู้ทรงเมตตาอย่างผ่อนคลายและปลอดภัย และในหมู่พวกเขานั้นมีคน 7 จำพวกดังที่ได้ถูกกล่าวในหะดีษนี้ พวกเขามีลักษณะที่เหมือนกันคือมีความกลัวต่ออัลลอฮฺ และบริสุทธิ์ใจในการประกอบคุณงามความดีเพื่ออัลลอฮฺทั้งๆ ที่มีสิ่งยั่วยุอย่างหนักให้ทำในสิ่งตรงข้าม ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวถึงพวกเขาเพื่อเป็นการกระตุ้นให้พวกเราอยากทำการงานของพวกเขา และเพื่อส่งเสริมให้เราทำมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มุสลิมเป็นพี่น้องกัน ความผูกพันฉันพี่น้องร่วมศรัทธามัดรวมพวกเขาเอาไว้ และสำหรับพี่น้องมุสลิมของเขามีสิทธิ์ที่พี่น้องของเขาต้องทำให้ ตามที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อลัยฮิวะสัลลัม ได้ชี้แนะไว้ และได้เตือนถึงสิ่งที่จะมาทำลาย หรือทำให้ความเป็นพี่น้องนี้เปราะบางลงเพื่อให้ระวังในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความอิจฉา คือ ความไม่อยากเห็นสิ่งดีงามเกิดขึ้นกับผู้อื่น และหวังให้มันมลายสิ้นไป มันเป็นลักษณะที่น่ารังเกียจที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามเอาไว้เพราะมันเป็นบ่อเกิดความเสียหายในระหว่างมุสลิม และเกิดความไม่พอใจต่อกัน และยังเป็นเหตุให้เกิดการทำร้ายกันได้ และท่านรสูล ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกอีกว่า การหวังอยากมีเหมือนคนอื่นเพื่อจะได้แข่งขันทำความดีในเรื่องศาสนานั้นไม่ถือเป็นการอิจฉาที่น่าตำหนิ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ฟิตนะฮฺของสตรีนั้นใหญ่หลวงนัก ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนให้ระมัดระวัง และกล่าวว่ามันเป็นฟิตนะฮฺอันดับหนึ่งของพวกบนีอิสรออีล การอยู่ลำพังกับนางเป็นก็ฟิตนะฮฺ –และมันเป็นสิ่งที่ชัยฏอนมารร้ายทั้งจากญินและคนนั้นพยายามยั่วยุให้เกิดขึ้นในทุกวันนี้ – และการที่นางออกจากบ้านของนางโดยไม่มีความจำเป็นก็เป็นฟิตนะฮฺได้ และการเชื่อฟังนางในทุกเรื่องที่นางต้องการนั้นก็เป็นฟิตนะฮฺได้ ฉะนั้น จึงต้องคอยระมัดระวังฟิตนะฮฺเหล่านี้ ซึ่งบางทีไม่สามารถดับมันได้หากปล่อยปละละเลยในตอนแรก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม