สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด - บทความ
จำนวนเนื้อหา: 582
- ทุกภาษา
- ทุกภาษา
- กรีก
- กันนาดา
- กินยารวันดา
- กุจราตี
- กุรดี
- คาซัค
- คิรกีส
- จีน
- ซางู
- ญี่ปุ่น
- ดารี เปอร์เซียน
- ตากาล็อก
- ติกรินยา
- ตุรกิช
- ทมิฬ
- ทาจิกี
- บอสเนีย
- ปุชตู
- ฝรั่งเศส
- ฟูลาห์
- มัลดีฟส์
- มัวร์
- มาลายาลัม
- ยูรูบา
- ยูเครน
- รัสเซีย
- ลิธัวเนีย
- สวาฮีลี
- สิงหล
- สเปน
- อะซามีส
- อังกฤษ
- อัมฮาริก
- อัลบาเนียน
- อาฟาร์
- อาร์เมเนีย
- อาหรับ
- อิตาเลี่ยน
- อินโดนีเซีย
- อุซเบก
- อุยกูร์
- อุรดู
- อูกันดา
- อูรูมิก
- ฮอลันดา
- ฮังกาเรียน
- ฮินดี
- เกาหลี
- เชค
- เชอเกซเซียน
- เซอร์เบียน
- เตลูกู
- เติร์กเมน
- เนปาล
- เบ็งกอล
- เยอรมัน
- เวียตนาม
- เฮาซา
- โซมาเลีย
- โปรตุเกส
- โรมาเนีย
- โวลอฟ
- ไทย
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มารยาทในการรับประทานอาหาร
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การหาวนั้นส่งผลให้เกิดความมึนงงและเกียจคร้าน มาจากชัยฏอน มุสลิมจึงต้องพยายามกลั้นเอาไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะหากทำอย่างนี้แล้วชัยฏอนจะโมโหเจ็บใจ แต่หากมุสลิมปล่อยให้หาวออกมาเสียงดัง ชัยฏอนก็จะหัวเราะใส่เขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สำหรับการจามนั้นมีมารยาทและสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม กำหนดเอาไว้ จึงสมควรที่มุสลิมจะมีมารยาทเหล่านี้ติดตัวเพราะจะได้รับความดีอย่างมากมาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายหะดีษต่างๆ ว่าด้วยการเตือนให้ชดใช้หนี้สิน และภัยจากการไม่ยอมใช้หนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้ต้องรับโทษในสุสานและถูกกักกันไม่ให้เข้าสวรรค์ในวันกิยามะฮฺ รวมทั้งแนะนำข้อปฏิบัติต่างๆ สำหรับเจ้าหนี้และลูกหนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป้าหมายของสูเราะฮฺฮูด เป็นการตอกย้ำให้ทำหน้าที่ฟื้นฟูปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง โดยไม่บันดาลโทสะหรือสิ้นหวัง สูเราะฮฺนี้และสูเราะฮฺยูนุสก่อนหน้านี้ และสูเราะฮฺยูสุฟที่จะมาหลังจากนี้ คือสามสูเราะฮฺแรกที่เป็นชื่อบรรดานบี ซึ่งทุกชื่อสูเราะฮฺที่ใช้ชื่อนบีนั้น ก็จะเป็นที่เข้าใจว่าเรื่องราวของนบีคนนั้นคือเนื้อหาแก่นหลักของสูเราะฮฺ และในตอนท้ายของสูเราะฮฺก็จะมีอายะฮฺที่เป็นบทสรุปของเรื่องราวนั้นๆ จนดูประหนึ่งว่ามันเป็นกฎ (กออิดะฮฺ) ของทุกสูเราะฮฺที่ใช้ชื่อบรรดานบีเป็นชื่อสูเราะฮฺ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายหะดีษ “อิสลามคือนะศีหะฮฺ” ผู้เขียนได้อธิบายและจำแนกประเภทต่างๆ ของการตักเตือน รวมทั้งประโยชน์อันมากมาย และสิ่งที่เงื่อนไขหรือมารยาทในการตักเตือน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงมุมมองและคำสอนของอิสลามว่าด้วยความเกียจคร้าน ซึ่งเป็นนิสัยที่อิสลามห้าม โดยมีหลักฐานระบุในเรื่องดังกล่าวจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ รวมทั้งคำพูดจากบรรดาอุละมาอ์ ในบทความยังกล่าวถึงประเภทของความเกียจคร้านและวิธีการขจัดนิสัยที่ไม่น่าพึงประสงค์นี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เลือดเนื้อและชีวิตของมุสลิม ณ ที่อัลลอฮฺ เป็นของต้องห้ามอย่างยิ่ง และด้วยเหตุนี้ สำหรับอัลลอฮฺแล้วการให้ดุนยาสลายไปยังเบากว่าการสังหารผู้ที่เป็นมุอ์มิน และผู้ใดได้สังหารเพียงชีวิตเดียวก็เสมือนว่าเขาได้สังหารมนุษยชาติทั้งมวล และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม นับว่าการสังหารชีวิตที่อัลลอฮฺทรงห้ามไว้-นอกจากด้วยความชอบธรรม-ถือเป็นบาปใหญ่ที่ก่อความหายนะ เพื่อจะได้เตือนผู้คนทั้งหลายไม่ให้มักง่ายสะเพร่าในเรื่องนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอธรรมนั้น ภัยอันตรายของมันใหญ่หลวง ปั้นปลายของมันเลวร้าย นั่นคือความมืดมนนานาประการแก่ของเจ้าของมันในวันอาคิเราะฮฺ และเป็นสาเหตุให้อัลลอฮฺจัดการและเอาคืนเขาอย่างสาสมรุนแรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอธรรมเป็นหนึ่งในลักษณะที่น่ารังเกียจที่สุดที่เกิดจากคนที่เหย่อหยิ่งจองหองหลงลืมความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ และลืมการลงโทษที่รุนแรงของพระองค์ อัลลอฮฺทรงทำให้มันเป็นที่ต้องห้ามกับพระองค์เองด้วยเพราะความยุติธรรมอันสมบูรณ์ของพระองค์ และทำให้มันเป็นที่ต้องห้ามในระหว่างบ่าวของพระองค์ และทรงขู่ด้วยการลงโทษที่รุนแรงเอาไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มุสลิมจะถูกสอบถามถึงสิ่งที่เขาพูดด้วยว่าจะถูกตอบแทนรางวัลหรือจะถูกเอาผิด เพราะเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามคำบางคำไม่ให้พูด และในบางคำท่านก็ได้ชี้แนะคำอื่นให้พูดแทน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทกลอนบทกวีนั้น ส่วนดีของมันก็คือสิ่งดี ส่วนเลวร้ายก็คือสิ่งเลวร้าย และหากเป็นการเผยแพร่สิ่งดี หรือสนับสนุนให้มีคุณธรรมจริยธรรมอันดีงามก็ควรได้รับการชมเชยและส่งเสริม แต่หากเป็นการด่าทอมุสลิม ดูถูกดูแคลนพวกเขา หรือชวนให้ฝ่าฝืนคำสั่งหรือให้ปฏิบัติตนไม่ดี ก็ควรได้รับการตำหนิ และเป็นสิ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺเตือนให้ระวัง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การยุยงให้คนอื่นทะเลาะกันหรือการยุแยงตะแคงรั่วเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ มีความหมายคือ การนำเอาคำพูดไปบอกต่อคนอื่นๆโดยมีเจตนาร้าย การเที่ยวเดินโพนทะนานั้นถือเป็นสาเหตุใหญ่ที่สุดที่ทำให้เกิดการตัดขาดกันระหว่างผู้คน ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนให้ระวัง และบอกกล่าวถึงบทลงโทษที่รุนแรงกับผู้ที่กระทำการนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การสาปแช่ง คือ การขับไล่และการทำให้อยู่ห่างไกลจากเมตตาของอัลลอฮฺ และการสาปแช่งคนใดเป็นการเฉพาะเป็นเรื่องอันตราย เพราะการสาปแช่งหากผู้ที่ถูกกล่าวถึงไม่สมควรได้รับมัน มันก็จะกลับไปหาคนที่แช่งมันแทน หลายคนมักจะเลินเล่อในการสาปแช่ง และเป็นเรื่องที่ต้องแสดงการรังเกียจ และเตือนให้ระวัง และไม่มักง่ายกับมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การนินทาเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ และเป็นหนึ่งในบาปที่แพร่หลายในระหว่างผู้คนมากที่สุด อีกทั้งพวกเขาก็มักง่าย และพากันละเลยไม่แสดงการรังเกียจ ทั้งที่มันเป็นสาเหตุก่อความเป็นศัตรูต่อกัน และทำลายความเป็นปึกแผ่นของพวกเขา และเพราะความน่ารังเกียจของการนินทา อัลลอฮฺทรงเปรียบคนนินทาว่าเหมือนกับคนที่กินศพพี่น้องของเขา และบทลงโทษของคนนินทาในโลกหลุมศพคือเขาจะฉีกหน้าฉีกอกของเขาด้วยกรงเล็บที่ทำจากทองแดง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเป็นพยานเท็จ หรือเป็นพยานโกหก ถือเป็นบาปที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนประชาชาติของท่าน เพราะมันรวมเอาทั้งการโกหกที่ถือเป็นลักษณะที่น่ารังเกียจที่สุด และทั้งสิ่งที่เป็นเหตุให้มุสลิมต้องสูญเสียสิทธิไป ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงนับเรื่องนี้เป็นหนึ่งในบาปใหญ่ที่ใหญ่ที่สุด และท่านเองทำให้ท่านสะเทือนอารมณ์มากขณะที่ท่านกล่าวเตือนบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่าน จนกระทั้งพวกเขาพากันเป็นห่วงท่าน –ขอความพึงพอพระทัยจงมีแด่พวกท่านทั้งหลายด้วยเถิด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การสาบานต่ออัลลอฮฺนั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ อัลลอฮฺทรงให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ เพราะมันเป็นเครื่องมือทางกฎหมายประการหนึ่งที่ใช้รับรองหรือปฏิเสธสิทธิ์ต่างๆ ได้ การสาบานเท็จจึงอาจทำให้คนเราต้องสูญเสียกรรมสิทธิ์ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการหมิ่นเดชานุภาพของอัลลอฮฺผู้ทรงสูงส่งอีกด้วย ด้วยเหตุนี้บทลงโทษสำหรับผู้ที่โกหกในเรื่องนี้จึงเป็นบทลงโทษที่สาหัสรุนแรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความว่าด้วยข้อปฏิบัติเมื่อได้ยินเสียงอะซาน เช่น การตอบรับอะซาน, เตรียมความพร้อมเพื่อละหมาดที่มัสญิด, อาบน้ำละหมาดที่บ้าน, ไปมัสญิดด้วยใจที่สงบนิ่งและไม่รีบเร่ง, มารยาทเมื่อเข้ามัสญิด, และเข้าแถวแรก พร้อมด้วยหลักฐานประกอบจากหะดีษ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ฟารีด พุกมะหะหมัด ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายความหมายของตาชั่งที่อัลลอฮฺจะใช้ในการชำระสอบสวนมนุษย์ในวันกิยามะฮฺ ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์จะต้องศรัทธา รวมทั้งกล่าวถึงผลดีต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากการศรัทธาดังกล่าว เช่น การมุ่งมั่นทำความดี การรักษาความดีงามต่างๆ จากสาเหตุที่จะทำให้มันสูญเสียและบกพร่อง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่ถูกเรียกร้องให้มีในทุกเรื่อง และเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องใช้มันในการปฏิบัติต่อลูกๆ และในการอบรมสั่งสอนพวกเขา จะได้ไม่บ่มเพาะความไม่พอใจ หรือความเกลียดชังกันในระหว่างพวกเขา ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงไม่ยอมเป็นสักขีพยานในการบริจาคของคนที่ไม่ให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ และเรียกมันว่า ความไม่เป็นธรรม และท่านใช้ให้มีความยุติธรรมต่อลูกๆ และบรรดาสะลัฟเองพวกเขาก็ชอบให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ ของพวกเขา แม้กระทั่งในเรื่องการหอมลูกก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415