สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด - เนื้อหาทั้งหมด
จำนวนเนื้อหา: 640
- ไทย
- ทุกภาษา
- กรีก
- กันนาดา
- กินยารวันดา
- กุจราตี
- กุรดี
- คาซัค
- คิรกีส
- จอร์เจียน
- จีน
- ซางู
- ญี่ปุ่น
- ดารี เปอร์เซียน
- ตากาล็อก
- ตาตาร์
- ติกรินยา
- ตุรกิช
- ทมิฬ
- ทาจิกี
- บอสเนีย
- บัลกาเรีย
- ปุชตู
- ฝรั่งเศส
- พม่า
- ฟูลาห์
- มะลากาชิ
- มัลดีฟส์
- มัวร์
- มากูอินดาเนา ฟิลิปปินส์
- มาราเนา ฟิลิปปินส์
- มาลายาลัม
- มุนดากา
- ยูรูบา
- ยูเครน
- รัสเซีย
- ลิธัวเนีย
- สวาฮีลี
- สิงหล
- สินธุ
- สเปน
- อะกานี
- อะซามีส
- อังกฤษ
- อัมฮาริก
- อัลบาเนียน
- อาฟาร์
- อาร์เมเนีย
- อาหรับ
- อิตาเลี่ยน
- อินโดนีเซีย
- อุซเบก
- อุยกูร์
- อุรดู
- อูกันดา
- อูรูมิก
- ฮอลันดา
- ฮังกาเรียน
- ฮินดี
- เกาหลี
- เชค
- เชอเกซเซียน
- เซอร์เบียน
- เตลูกู
- เติร์กเมน
- เนปาล
- เบ็งกอล
- เปอร์เซีย
- เมซิโดเนียน
- เยอรมัน
- เวียตนาม
- เอ็นโก
- เฮาซา
- โซมาเลีย
- โปรตุเกส
- โรมาเนีย
- โวลอฟ
- ไทย
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การผ่อนปรนของอัลลอฮฺที่มีต่อประชาชาตินี้ และยกเอาความลำบากออกไปจากพวกเขาประการหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงบัญญัติให้ย่อละหมาดที่มีสี่ร็อกอะฮฺในช่วงเดินทาง ให้เหลือละหมาดสองร็อกอะฮฺ และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในช่วงเดินทางของท่าน ท่านจะย่อละหมาดที่มีสี่ร็อกอะฮฺ และไม่อ่านเพิ่มเกินจากสองร็อกอะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การผ่อนปรนของอัลลอฮฺที่มีต่อประชาชาตินี้ และยกเอาความลำบากออกไปจากพวกเขาประการหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงบัญญัติให้ละหมาดรวมในการเดินทางได้ เพราะคนเดินทางโดยทั่วไปแล้วจะพบกับความลำบากในการหยุดแวะในทุกๆเวลาละหมาด ฉะนั้น คนเดินทางจึงสามารถรวมละหมาดซุฮ์รฺกับอัศรฺในเวลาใดเวลาหนึ่งของทั้งสองได้ และเช่นกันกับละหมาดมัฆริบและอิชาอ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เมื่อเกิดแผ่นดินแห้งแล้ง ไม่มีฝนตก ให้มุสลิมทั้งหลายออกมาละหมาดขอฝนและการขอช่วยเหลือจากอัลลอฮฺ ในสภาพผู้ต่ำต้อย ผู้นอบน้อม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
แผ่นดินเกิดแห้งแล้งขึ้นในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม แล้วก็มีชายคนหนึ่ง ขณะที่ท่านเราะสูล กำลังคุฏบะฮฺวันศุกร์อยู่นั้น ได้ลุกขึ้นมาขอให้ท่านขอฝนจากอัลลอฮฺให้พวกเขา แล้วท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็ได้ขอดุอาอ์ในระหว่างคุฏบะฮฺ แล้วก็มีฝนตกลงมาในขณะนั้นทันที ตกเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์เต็ม จนกระทั้งพวกเขาพากันมาขอให้ท่านขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺให้ฝนหยุดตก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ฝนเป็นเนียะมัตและความโปรดปรานจากอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงมอบมันแก่บ่าวที่พระองค์ทรงประสงค์ และการพาดพึงเนียะมัตเหล่านี้กับการ(โคจร)เข้ามาของดวงดาว หรือฤดูกาล ถือเป็นการปฏิเสธเนียะมัตของอัลลอฮฺ ตะอาลา ทว่าเป็นหน้าที่(ของเรา)ที่จะต้องพาดพิงให้กับความโปรดปรานของอัลลอฮฺองค์เดียวเท่านั้น และดวงดาว และฤดูกาลเหล่านี้ไม่ใช่อื่นใดนอกจากเป็นสภาพการณ์ที่อัลลอฮฺทรงทำให้เกิดมีริซกีแก่บ่าวของพระองค์ตามประสงค์ และไม่มีผู้ใดล่วงรู้ถึงการตกลงมาของฝนนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หนึ่งในงานที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำคือการไปเยี่ยมคนป่วย เพราะเป็นการช่วยให้ผู้ป่วยไม่คิดฟุ้งซ่านและทำให้เขามีจิตใจดีขึ้น มันเป็นสิทธิของมุสลิมต่อพี่น้องมุสลิมด้วยกัน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า มันมีผลบุญอย่างมหาศาล เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ทั้งในบ้านและกับครอบครับ ท่านก็เป็นตัวอย่างของมารยาทอันสูงส่งที่ผู้ปฏิบัติตามท่านต้องทำตาม ท่านเมื่ออยู่ที่บ้านจะบริการครอบครัว ท่านจะสุขุมและอดทนกับพวกเขา ไม่คอยต่อว่าต่อขานแม้แต่กับเด็กรับใช้ และท่านก็หยอกล้อกับคนในครอบครัว ท่านเคยเล่นแข่งกับพวกเขาในช่วงเดินทางเพื่อให้พวกเขาได้ผ่อนคลายและเติมความสุขให้พวกเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัต-ตะยามุน คือ การเริ่มด้วยข้างขวาก่อน การให้ข้างขวาก่อนนั้นเป็นเรื่องการให้เกียรติ เป็นสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเป็นเครื่องหมายประจำตัวของคนมุสลิม และอีกทั้งยังเป็นการทำสวนทางกับชัยฏอนที่มันทำเรื่องต่างๆ ด้วยข้างซ้ายของมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความขันติมและความอดทนของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม กับกลุ่มชนของท่านและจำเป็นที่นักเผยแพร่ต้องเอาอย่างท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในความสุขุม ความอดทนต่อการประทุษร้ายของคนอื่น ๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่มีความสำคัญสำหรับการลบล้างบาปได้ อาทิ การเตาบะฮฺกลับตัวด้วยความจริงใจ อิสติฆฟารฺขออภัยโทษ การทำความดี ทุกข์ภัยความลำบาก ดุอาอ์และการขออภัยโทษที่ผู้ศรัทธาขอให้ ผลบุญที่ผู้ตายได้รับการอุทิศให้ การลงโทษในหลุมฝังศพ ความน่าสะพรึงกลัวของวันกิยามะฮฺ ชะฟาอะฮฺ(การช่วยเหลือ)ของผู้ที่มีสิทธิให้ความช่วยเหลือ การให้อภัยของอัลลอฮฺ ผู้ทรงเมตตาเหนือผู้ใดทั้งปวง อ้างจากหนังสือชัรหฺ อัฏเฏาะหาวิยะฮฺ
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความเป็นศัตรูของชัยฏอนที่มีต่อมนุษย์นั้นได้รับการยืนยันแล้ว ไม่มีข้อสงสัยใดๆ อัลลอฮฺทรงกล่าวถึงมันไว้ในอัลกุรอานเพื่อเตือนบ่าวของพระองค์ถึงแผนการร้ายของมัน ซึ่งก็คือมันจะไม่ปล่อยสิ่งใดที่อาจก่อความบาดหมางกัน นอกจากมันจะทำและพยายามถึงที่สุดในเรื่องดังกล่าวนั้น และหนึ่งในนั้นก็คือ การก่อฟิตนะฮฺและความบาดหมางระหว่างกันที่จะส่งผลให้เกิดความแตกแยก การหันหลังให้กัน และการรบราฆ่าฟันกันในระหว่างมุสลิมด้วยกัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป็นเมตตาของอัลลอฮฺอย่างหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงทำให้ทุกสิ่งที่มาประสบกับมุสลิมในโลกดุนยานี้ทั้งที่เป็นโรคภัยหรืออื่นๆ นั้นเป็นการลบล้างความผิดต่างๆ ของเขาด้วย ดังนั้นทุกอย่างที่มาประสบของมุสลิม เมื่อเขาอดทนกับมัน สำหรับเขาแล้วมันคือสิ่งที่ดีที่มาจากอัลลอฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เพื่อนและคนใกล้ตัวนั้นมีผลอย่างมากกับคนเรา และโดยมากแล้วคนเราจะมีมารยาทตามอย่างมารยาทของเพื่อนๆของเขา ไม่ว่าจะดี หรือเลวก็ตาม ด้วยเหตุนี้เองท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงส่งเสริมให้เลือกเพื่อนที่ดี และเปรียบเทียบเพื่อนที่ดีว่าเหมือนกับคนขายน้ำหอมที่อย่างไรก็ไม่เสียประโยชน์ ตรงกันข้ามกับเพื่อนที่เลวที่ท้ายสุดเขาจะต้องพาท่านไปตามสิ่งที่ไม่ดีของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอดทนมีสถานภาพยิ่งใหญ่ในศาสนา เพราะเรื่องศาสนาทั้งหมดนั้นยืนอยู่ได้ด้วยความอดทน คือการอดทนในการเชื่อฟังอัลลอฮฺ และอดทนไม่ทำสิ่งที่เป็นข้อห้ามของอัลลอฮฺ และอดทนต่อกำหนดสภาวะการณ์ต่างๆของอัลลอฮฺ และผู้ที่อดทนนั้น คือผู้ได้กำไร เพราะเขาเชื่อฟังอัลลอฮฺ และหวังผลบุญจากพระองค์ และเพราะความหวาดกลัวและความโกรธแค้นนั้นไม่สามารถเปลี่ยนกำหนดใดๆ ได้ หากแต่มันจะกลับกลายเป็นโทษแก่เจ้าของมันเอง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การแปรงฟันนั้นคือการชำระล้างและทำความสะอาดปาก และเป็นสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามช่วงเวลาที่กำหนดให้ทำความสะอาดเช่น การละหมาด หรือเมื่อมีกลิ่นปาก ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ชอบการแปรงฟัน และท่านแปรงฟันบ่อยครั้งมาก และหลายครั้งที่ท่านใช้บรรดาเศาะหาบะฮฺทำการแปรงฟัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การกลัวอัลลอฮฺเป็นอิบาดะฮฺทางใจที่ยิ่งใหญ่ อันจะเกิดขึ้นไม่ได้นอกจากจะออกมาจากผู้ศรัทธาที่มีความศรัทธาอย่างจริงใจเท่านั้น ด้วยเหตุนี้มันจึงมีสถานะภาพที่สูงส่งและมีความประเสริฐอย่างยิ่ง และความกลัวที่น่าสรรเสริญอันนี้คือสิ่งที่จะผลักดันให้เจ้าของมันทำความดีต่างๆ และคอยยับยั้งเขาไม่ให้ทำสิ่งต้องห้ามต่างๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงใช้ให้ทำตามสัญญา และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม นับว่าการทรยศนั้นคือ การที่คนๆหนึ่งทำสัญญาสิ่งหนึ่งเอาไว้แล้วไม่ทำตาม ถือเป็นลักษณะหนึ่งของมุนาฟิก(คนกลับกลอก) และได้บอกอีกว่าในวันกิยามะฮฺจะมีธงขนาดใหญ่ให้คนทรยศถือ และจะถูกกล่าวขึ้นว่า นี้คือการทรยศคนนั้นคนนี้เพื่อจะได้เปิดโปงเขาต่อผู้คนทั้งหลาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การโกรธนั้นเป็นมารยาทที่น่าตำหนิ โดยมากแล้วจะดึงเจ้าของมันให้ทำในสิ่งที่เขาไม่อยากทำ มันมาจากชัยฏอน ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงสั่งเสียให้ห่างไกลจากมัน และชี้แนะให้ลดขอบเขตของมันยามเมื่อตกอยู่ในความโกรธ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การตักเตือนพี่น้องมุสลิมเป็นเรื่องวายิบ และเป็นเรื่องของศาสนา และการคดโกงในการค้า การขาย และอื่นๆ นั้น เป็นการฝ่าฝืน และถือเป็นบาปใหญ่ ที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนไว้ และบอกกล่าวอีกว่าผู้ใดที่คดโกงมุสลิม เขาก็ไม่ใช่พวกของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความโปรดปรานที่ประเสริฐที่สุดประการหนึ่งซึ่งอัลลอฮฺได้ทรงประทานแก่บ่าวของพระองค์คือสติปัญญา หากมนุษย์ไร้ซึ่งสติปัญญา เขาก็คงไม่รู้จักอิสลาม ไม่ศรัทธาต่อบรรดานบี ไม่สามารถแยกแยะความดีความชั่ว และความจริงความเท็จได้ บทความนี้อธิบายความสำคัญของสติปัญญา และข้อสังเกตต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญญาในทัศนะอิสลาม โดยอิงจากหลักฐานในอัลกุรอาน หะดีษและคำพูดของบรรดาอุละมาอ์ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์