สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด - บทความ
จำนวนเนื้อหา: 582
- ทุกภาษา
- ทุกภาษา
- กรีก
- กันนาดา
- กินยารวันดา
- กุจราตี
- กุรดี
- คาซัค
- คิรกีส
- จีน
- ซางู
- ญี่ปุ่น
- ดารี เปอร์เซียน
- ตากาล็อก
- ติกรินยา
- ตุรกิช
- ทมิฬ
- ทาจิกี
- บอสเนีย
- ปุชตู
- ฝรั่งเศส
- ฟูลาห์
- มัลดีฟส์
- มัวร์
- มาลายาลัม
- ยูรูบา
- ยูเครน
- รัสเซีย
- ลิธัวเนีย
- สวาฮีลี
- สิงหล
- สเปน
- อะซามีส
- อังกฤษ
- อัมฮาริก
- อัลบาเนียน
- อาฟาร์
- อาร์เมเนีย
- อาหรับ
- อิตาเลี่ยน
- อินโดนีเซีย
- อุซเบก
- อุยกูร์
- อุรดู
- อูกันดา
- อูรูมิก
- ฮอลันดา
- ฮังกาเรียน
- ฮินดี
- เกาหลี
- เชค
- เชอเกซเซียน
- เซอร์เบียน
- เตลูกู
- เติร์กเมน
- เนปาล
- เบ็งกอล
- เยอรมัน
- เวียตนาม
- เฮาซา
- โซมาเลีย
- โปรตุเกส
- โรมาเนีย
- โวลอฟ
- ไทย
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การตักเตือนพี่น้องมุสลิมเป็นเรื่องวายิบ และเป็นเรื่องของศาสนา และการคดโกงในการค้า การขาย และอื่นๆ นั้น เป็นการฝ่าฝืน และถือเป็นบาปใหญ่ ที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนไว้ และบอกกล่าวอีกว่าผู้ใดที่คดโกงมุสลิม เขาก็ไม่ใช่พวกของเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความโปรดปรานที่ประเสริฐที่สุดประการหนึ่งซึ่งอัลลอฮฺได้ทรงประทานแก่บ่าวของพระองค์คือสติปัญญา หากมนุษย์ไร้ซึ่งสติปัญญา เขาก็คงไม่รู้จักอิสลาม ไม่ศรัทธาต่อบรรดานบี ไม่สามารถแยกแยะความดีความชั่ว และความจริงความเท็จได้ บทความนี้อธิบายความสำคัญของสติปัญญา และข้อสังเกตต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญญาในทัศนะอิสลาม โดยอิงจากหลักฐานในอัลกุรอาน หะดีษและคำพูดของบรรดาอุละมาอ์ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความสุขความสำราญของชาวสวรรค์นั้นจะยังไม่สมบูรณ์ จนกว่าพวกเขาจะได้เห็นพระเจ้าของพวกเขา และได้รับความพอพระทัยจากพระองค์ บทความนี้กล่าวถึงสาเหตุต่างๆ ที่จะทำให้มนุษย์ได้รับความพอพระทัยของอัลลอฮฺในสวรรค์ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในวันกิยามะฮฺ ผู้คนจะประสบกับความเหน็ดเหนื่อยตรากตรำอย่างหนักหน่วง ดวงอาทิตย์เข้ามาใกล้พวกเขาเพียงไมล์เดียว แล้วความอึดอัดความคับอกคับใจมีมากถึงขั้นที่ไม่มีใครล่วงรู้ได้นอกจากอัลลอฮฺ แต่ในสภาพการณ์แบบนี้ ยังมีผู้คนที่ได้อยู่ในร่มเงาของพระผู้ทรงเมตตาอย่างผ่อนคลายและปลอดภัย และในหมู่พวกเขานั้นมีคน 7 จำพวกดังที่ได้ถูกกล่าวในหะดีษนี้ พวกเขามีลักษณะที่เหมือนกันคือมีความกลัวต่ออัลลอฮฺ และบริสุทธิ์ใจในการประกอบคุณงามความดีเพื่ออัลลอฮฺทั้งๆ ที่มีสิ่งยั่วยุอย่างหนักให้ทำในสิ่งตรงข้าม ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวถึงพวกเขาเพื่อเป็นการกระตุ้นให้พวกเราอยากทำการงานของพวกเขา และเพื่อส่งเสริมให้เราทำมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มุสลิมเป็นพี่น้องกัน ความผูกพันฉันพี่น้องร่วมศรัทธามัดรวมพวกเขาเอาไว้ และสำหรับพี่น้องมุสลิมของเขามีสิทธิ์ที่พี่น้องของเขาต้องทำให้ ตามที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อลัยฮิวะสัลลัม ได้ชี้แนะไว้ และได้เตือนถึงสิ่งที่จะมาทำลาย หรือทำให้ความเป็นพี่น้องนี้เปราะบางลงเพื่อให้ระวังในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความอิจฉา คือ ความไม่อยากเห็นสิ่งดีงามเกิดขึ้นกับผู้อื่น และหวังให้มันมลายสิ้นไป มันเป็นลักษณะที่น่ารังเกียจที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามเอาไว้เพราะมันเป็นบ่อเกิดความเสียหายในระหว่างมุสลิม และเกิดความไม่พอใจต่อกัน และยังเป็นเหตุให้เกิดการทำร้ายกันได้ และท่านรสูล ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกอีกว่า การหวังอยากมีเหมือนคนอื่นเพื่อจะได้แข่งขันทำความดีในเรื่องศาสนานั้นไม่ถือเป็นการอิจฉาที่น่าตำหนิ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ฟิตนะฮฺของสตรีนั้นใหญ่หลวงนัก ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนให้ระมัดระวัง และกล่าวว่ามันเป็นฟิตนะฮฺอันดับหนึ่งของพวกบนีอิสรออีล การอยู่ลำพังกับนางเป็นก็ฟิตนะฮฺ –และมันเป็นสิ่งที่ชัยฏอนมารร้ายทั้งจากญินและคนนั้นพยายามยั่วยุให้เกิดขึ้นในทุกวันนี้ – และการที่นางออกจากบ้านของนางโดยไม่มีความจำเป็นก็เป็นฟิตนะฮฺได้ และการเชื่อฟังนางในทุกเรื่องที่นางต้องการนั้นก็เป็นฟิตนะฮฺได้ ฉะนั้น จึงต้องคอยระมัดระวังฟิตนะฮฺเหล่านี้ ซึ่งบางทีไม่สามารถดับมันได้หากปล่อยปละละเลยในตอนแรก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลักษณะที่น่ารังเกียจประการหนึ่ง ซึ่งอัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ได้ห้ามไว้ก็คือ การลำพองตนและหลงระเริงกับชีวิตในดุนยา บทความนี้อธิบายประเภทต่างๆ ของความลำพอง อาทิ การลำพองของผู้ปฏิเสธศรัทธา การลำพองของผู้ศรัทธาที่ฝ่าฝืน การลำพองของผู้ที่ทำชั่วมากกว่าความดี รวมทั้งอธิบายสรุปประเภทของคนเกี่ยวกับความลำพอง คือ คนที่ลำพองตนกับชีวิตในดุนยาจนกระทั่งเสียชีวิต และคนที่ลำพองตนกับการทำความดีของตนเองซึ่งเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับความอิคลาศและบริสุทธิ์ใจ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุรอรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ฟารีด พุกมะหะหมัด ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความประเสริฐของการมีเพื่อนและมิตรสหายที่ดี โดยอ้างอิงจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ เป็นความสำคัญที่ส่งอิทธิพลหลายประการต่อคนแต่ละบุคลล เช่น การช่วยเหลือเกื้อกูลในความดี เป็นการแข่งขันกันทำความดี เป็นสิริมงคลแก่ผู้คบหา รวมทั้งอธิบายผลเสียของการมีเพื่อนที่ไม่ดีที่จะสร้างความเสียหายได้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายอายะฮฺอัลกุรอานจากสูเราะฮฺ อัฏ-ฏูร อายะฮฺที่ 21 ว่าด้วยการที่อัลลอฮฺทรงมอบรางวัลพิเศษให้กับชาวสวรรค์ ด้วยการให้ลูกหลานที่ศรัทธาของพวกเขาได้มาอยู่ร่วมกับพวกเขาอีกครั้งหนึ่งในสวรรค์ ถึงแม้ว่าลูกหลานของพวกเขาจะมีภาคผลบุญไม่มากเหมือนพวกเขาก็ตาม จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในการฝังคนตายมีข้อปฏิบัติและสุนนะฮฺที่มุสลิมควรยึดถือ และช่วยกันรักษาเพื่อจะได้ปฏิบัติตามสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) ในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงข้อปฏิบัติบางประการเกี่ยวกับการจัดการศพ อาทิ การหอมคนตาย การรีบจัดการศพ การห้ามด่าคนตาย การจ่ายหนี้ให้คนตาย ฯลฯ ซึ่งต้องทำความเข้าใจกับมันในการจัดการกับศพ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ผู้ละหมาดให้อ่านฟาติหะฮฺในละหมาดคนตายหลังจากตักบีรครั้งที่หนึ่ง และหลังตักบีรที่สองให้อ่านเศาะละวาตให้ท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) เหมือนที่อ่านตอนนั่งตะชะฮ์ฮุด หลังจากนั้นให้ขอดุอาอ์ให้คนตายในตักบีรที่สาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
คนเราบางทีอาจสิทธิ์ที่ต้องทำให้คนอื่น และเขาไม่รู้ว่าความตายจะมาจู่โจมเมื่อไหร่ ด้วยเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม จึงใช้ให้เขียนบันทึกคำสั่งเสีย และได้กำหนดกฏเกณฑ์ที่มุสลิมควรเรียนรู้เอาไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอดทนต่อทุกข์ภัยและหวังในการตอบแทนที่ต้องพบกับความทุกข์นั้นเป็นตัวชี้วัดถึงความเข้มแข็งของการศรัทธา และมันเป็นเหตุให้ได้รับพระเมตตาของอัลลอฮฺ และให้มีบั้นปลายชีวิตที่ดี ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสุลุลลอฮฺจึงหันหน้าสู่ความอดทนยามประสบทุกข์ภัย และสอนให้ประชาชาติของท่านให้กล่าวดุอาอ์ในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายอายะฮฺอัลกุรอานจากสูเราะฮฺยาซีน อายะฮฺที่ 55-58 ว่าด้วยผลตอบแทนของชาวสวรรค์ที่อัลลอฮฺได้เตรียมไว้สำหรับผู้ศรัทธาที่ได้เข้าสวรรค์ เป็นความสำราญตามที่ใจปรารถนา และมากไปกว่านั้นก็คือการได้เห็นพระผู้อภิบาลของพวกเขา ซึ่งนับเป็นสุดยอดแห่งความสุขของชาวสวรรค์ จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การละหมาดคนตายมีหลักปฏิบัติเป็นการเฉพาะ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ทำเป็นแบบอย่างเอาไว้ และบางประการมีมากกว่า 1 แบบ ก็อนุญาตให้ทำได้ทั้งสองแบบ มีบัญญัติสำหรับผู้พลาดการละหมาดคนตายยังสามารถละหมาดให้ได้แม้ว่าเขาจะถูกฝังไปแล้วก็ตาม เช่นเดียวกันกับท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) มีบัญญัติให้ละหมาดคนตายให้แก่คนตายที่ตัวไม่อยู่ด้วยได้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทลงโทษที่เลวร้ายที่สุดอย่างหนึ่งคือ การที่คนเราจบชีวิตไปอย่างเลวร้าย ตายขณะทำสิ่งที่ไม่ดี แล้วเขาก็ต้องฟื้นขึ้นมาในสภาพนั้น ฉะนั้น คนมุสลิมเองก็อย่าได้หลงระเริงกับสิ่งที่ตนเองเป็น แต่ให้เขาขอดุอาอฺต่ออัลลอฮฺให้มีวาระสุดท้ายที่ดี และให้เขายืนหยัดบนทางอันถูกต้องเที่ยงตรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เตาฮีดเป็นเรื่องใหญ่ และด้วยเหตุนี้รางวัลสำหรับผู้ที่ชีวิตของเขาจบลงด้วยการยอมรับในเตาฮีด โดยการกล่าวคำปฏิญาณ(ชะฮาดะฮฺ)ทั้งสอง คือเขาจะได้เข้าสวรรค์ เช่นเดียวกับที่ท่านรซูล(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)ได้ใช้ให้ผู้ที่ใกล้จะถึงวาระสุดท้ายของชีวิตให้คิดในทางที่ดีต่ออัลลอฮฺ และให้หวังความเมตตาของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ฟารีด พุกมะหะหมัด ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิ่งหนึ่งที่ศาสนาอิสลามให้ความสำคัญเป็นอย่างมากคือครอบครัว ทั้งยามที่อยู่ในบ้านและอยู่นอกบ้าน พื้นฐานของครอบครัวนั้นประกอบจากสามีและภรรยา ซึ่งศาสนาอิสลามได้กำหนดบทบัญญัติและขอบเขตต่าง ๆ ที่คู่สามีภรรยาจะต้องดำรงไว้ ทั้งนี้ เพื่อให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข ซึ่งจะนำไปสู่ความสงบสุขในสังคมนั่นเอง ดังนี้ ข้าพเจ้าจะกล่าวถึงสิ่งสำคัญบางประการที่จะนำคู่สามีภรรยาไปสู่การครองชีวิตคู่ให้เติบโตอยู่อย่างมั่นคง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์