จำนวนเนื้อหา: 416
7 / 9 / 1431 , 17/8/2010
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 10 - ประตูสวรรค์อัร-ร็อยยานสำหรับผู้ถือศีลอด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 9 - กลิ่นปากของผู้ถือศีลอด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 8 - ความเบิกบานใจของผู้ถือศีลอด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
6 / 9 / 1431 , 16/8/2010
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 7 - การถือศีลอดสามารถลดอารมณ์ใคร่ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 6 - การถือศีลอดเป็นโล่ป้องกัน พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
5 / 9 / 1431 , 15/8/2010
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 5 - การตอบแทนผลบุญของการถือศอศีลอดเป็นสิทธิของอัลลอฮฺ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 4 - การอภัยโทษสำหรับผู้ถือศีลอด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
4 / 9 / 1431 , 14/8/2010
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 3 - เป็นไทจากการลงโทษในขุมนรก พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
3 / 9 / 1431 , 13/8/2010
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 2 - ประตูสวรรค์เปิด ประตูนรกปิด พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
จากหนังสือ 40 หะดีษเดือนเราะมะฎอน หะดีษที่ 1 - การถือศีลอดเราะมะฎอนเป็นศาสนกิจภาคบังคับ พร้อมคำอธิบายโดยสรุป และบทเรียนที่ได้รับจากหะดีษ
29 / 8 / 1431 , 10/8/2010
การอิอฺติกาฟ ความเข้าใจของการอิอฺติกาฟ หุก่มของการอิอฺติกาฟ เงื่อนไขของการอิอฺติกาฟ หุก่มของการอิอฺกาฟสำหรับสตรีที่มัสญิด หุก่มของการบนบานว่าจะอิอฺติกาฟ เวลาเริ่มเข้าและสิ้นสุดอิอฺติกาฟ ข้อปฏิบัติของผู้ที่อิอฺติกาฟ ช่วงเวลาที่ประเสริฐที่สุดเพื่อทำการอิอฺติกาฟ สิ่งที่ทำให้การอิอฺติกาฟเสีย ระยะเวลาของการอิอฺติกาฟ จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
การถือศีลอดสุนัต ประเภทของการถือศีลอด ประเภทของการถือศีลอดสุนัต หุก่มการถือศีลอดวันเสาร์และวันอาทิตย์ วันต่าง ๆ ที่ห้ามถือศีลอด หุก่มการถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลก่อนการถือศีลอดชดของเดือนเราะมะฎอน หุก่มการยกเลิกการถือศีลอดสุนัต จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
26 / 8 / 1431 , 7/8/2010
เราะมะฎอน อุทยานแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตศรัทธาชน เดือนเราะมะฎอนเป็นเดือนแห่งการถือศีลอด มีจุดประสงค์เพื่อฝึกอบรมและหล่อหลอมให้ผู้ศรัทธามีความสำรวมตนจากความชั่วและยำเกรงต่ออัลลอฮฺ ซึ่งเป็นสุดยอดคุณลักษณะที่ประเสริฐ กิจกรรมการฝึกอบรมและพัฒนาคุณภาพชีวิตในเดือนเราะมะฎอนจะไม่จบลงเพียงในภาคกลางวัน แต่จะต่อเนื่องไปจนถึงภาคกลางคืน ซึ่งเป็นห้วงเวลาที่ดีเยี่ยมสำหรับผู้ที่ปรารถนาจะตักตวงและแสวงการอภัยโทษและพระเมตตาจากอัลลอฮฺ ผู้ทรงยิ่งในความเมตตากรุณาปรานีและผู้ทรงอภัย
22 / 8 / 1431 , 3/8/2010
โรคคร้านอิบาดะฮฺ อธิบายอาการและสาเหตุที่ทำให้เกิดความขี้เกียจและไม่กระตือรือร้นในการทำความดีต่างๆ รวมถึงระบุผลเสียที่เิกิดจากโรคดังกล่าว พร้อมทั้งแนะนำวิธีการแก้ไขเพื่อไม่ให้ปัญหานี้ลุกลามและทำลายบุคลิกภาพการเป็นมุสลิมที่ดี
5 / 8 / 1431 , 17/7/2010
อธิบายถึงความสำคัญของการระลึกถึงบุญคุณของพระผู้เป็นเจ้า และเป้าหมายหลักที่อัลกุรอานอุตส่าห์เรียกร้องให้มนุษย์รำลึกถึงบุญคุณและนิอฺมัตของอัลลอฮฺ คือ เพื่อต้องการให้พวกเขาขอบคุณอัลลอฮฺ และสำนึกตนด้วยการสำรวมอยู่ในคุณธรรมโดยไม่ละเมิดขอบเขตไปก่อความผิดบาป ซึ่งอาจจะเป็นโทษต่อตัวเขาเองและสังคมมนุษย์โดยรวม เพราะกี่มากน้อยในหมู่มนุษย์ที่ใช้นิอฺมัตในทางผิด เปลี่ยนบุญคุณเป็นการฝ่าฝืน และเป็นเหตุแห่งความหายนะในที่สุด
4 / 8 / 1431 , 16/7/2010
การทบทวนพิจารณาตนเองนั้นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญเป็นอย่างมาก จำเป็นจะต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพราะหากขาดการทบทวนแล้ว คนเราจะจมดิ่งอยู่ใต้ท้องทะเลแห่งความชั่วร้าย ความลุ่มหลง ที่จะสิ้นสุดยังไฟนรกซึ่งเชื้อเพลิงของมันนั้นคือ มนุษย์ และก้อนหิน.. ความเสื่อมโทรมในโลกดุนยานี้ ก็ล้วนแต่เกิดจากการที่บุคคลหรือสังคมไม่คิดถึงผลของการกระทำ ไม่คิดถึงการตอบแทนของเอกองค์อัลลอฮฺตะอาลา หรือจากผู้นำ หรือแม้แต่สังคมรอบข้าง.. และเมื่อใดที่บุคคลหรือสังคมไม่คำนึงถึงผลของการกระทำของตน พวกเขาเหล่านั้นก็จะทำทุกสิ่งทุกอย่างตามแต่ใจต้องการ และใช้ชีวิตดั่งม้าที่ไร้บังเหียน ไร้คนควบคุม และทำตัวคล้ายชาวนรกโดยที่รู้ตัว หรือไม่รู้ตัว
ชีวิตของมุอ์มินนั้น แท้จริงเปรียบได้ดั่งพ่อค้าใหญ่ ซึ่งเขาจำเป็นจะต้องตรวจเช็คบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองอยู่ตลอดเวลา และเมื่อครบหนึ่งปี เขาก็ไม่ลืมที่จะสรุปยอดบัญชีรายปีของเขา เพื่อที่จะได้รู้ถึงยอดสุทธิว่าได้กำไรหรือขาดทุน เขาจะต้องเป็นผู้ที่เฝ้าคอยตั้งคำถามแก่ตนเองอยู่ตลอดว่า : เขานั้นได้ พยายามนำพาชีวิตให้ใกล้ชิดกับความเมตตาของอัลลอฮฺมากน้อยแค่ไหน ? จิตใจของเขานั้นยังมั่นคงยึดมั่นอยู่กับการเคารพภักดีต่อพระองค์อยู่หรือไม่ ? และอีกหลาย ๆ คำถามที่จะทำให้ความภักดีที่เขามีต่ออัลลอฮฺนั้นเพิ่มพูนขึ้น
27 / 7 / 1431 , 9/7/2010
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ ความหมายการสุญูดสะฮฺวี เหตุผลที่มีบัญญัติการสุญูดสะฮฺวี สาเหตุต่างๆ ที่จำเป็นต้องสุญูดสะฮฺวี คำกล่าวในขณะที่สุญูดสะฮฺวี ผู้ที่ละหมาดไม่ทันอิมามจะสุญูดสะฮฺวีเมื่อใด
จากหนังสือ มุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วย สุนัตต่างๆ ในการละหมาด สิ่งที่ทำให้การละหมาดเสีย หุก่มการอิสติฆฺฟารฺหลังจากละหมาดฟัรฺฎฺ ลักษณะการซิกิรฺ หุก่มสำหรับผู้ที่ลุกขึ้นยืนโดยลืมนั่งตะชะฮฺฮุด หุก่มสำหรับผู้ที่ออกไปละหมาดญะมาอะฮฺ แต่พบว่าผู้คนต่างละหมาดเสร็จแล้ว หุก่มการกล่าวคำว่า “อามีน”ทั้งในละหมาดและนอกละหมาด
21 / 7 / 1431 , 3/7/2010
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ อธิบายสิ่งที่เป็นวาญิบต่างๆ ของการละหมาด และอธิบายหุก่มผู้ที่ละเลยสิ่งที่วาญิบเหล่านั้น