ซุฟอัม อุษมาน - บทความ
จำนวนเนื้อหา: 410
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงคุณลักษณะอันน่ารังเกียจซึ่งพระองค์อัลลอฮฺได้ทรงติเตียน นั่นคือการเพ้อฝันอย่างยาวไกลจนละเลยการงานเพื่ออนาคตในโลกอาคิเราะฮฺ ซึ่งจู่ๆ ความตายก็เข้ามาเยือนในสภาพหลงระเริง และไม่สามารถจะกู้เวลาที่เสียไปได้อีก รวมหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและสุนนะฮฺที่อธิบายเรื่องดังกล่าวนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความหมายของคำว่าบะเราะกะฮฺ หรือความจำเริญจากอัลลอฮฺ อธิบายสาเหตุต่างๆ ที่จะนำมาซึ่งบะเราะกะฮฺในชีวิต อาทิ การยำเกรงต่ออัลลอฮฺ การขอดุอาอ์ การอิสติคอเราะฮฺ การใช้จ่ายเพื่อความดี การทำงานหรือการค้าในเช้าตรู่ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการวะศิยะฮฺ หรือคำสั่งเสีย ซึ่งเป็นสิ่งที่อิสลามสนับสนุนให้กระทำ อันเนื่องจากมีผลประโยชน์ต่อมุสลิม พร้อมระบุหลักฐานต่างๆ ที่ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าวนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายคุณลักษณะอันไม่พึงประสงค์ประการหนึ่ง นั่นคือความรีบร้อน ไม่ว่าจะเป็นในด้านการขอดุอาอ์จากอัลลอฮฺ การทำอิบาดะฮฺโดยขาดสมาธิ รวมถึงอธิบายผลเสียต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากนิสัยไม่ดีข้อนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การได้รับเตาฟีก หรือการประสิทธิ์ให้บรรลุและประสบความสำเร็จในสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยการอนุมัติจากพระองค์อัลลอฮฺนั้น เป็นความจำเป็นสำหรับมนุษย์ ทั้งในโลกดุนยาและในโลกอาคิเราะฮฺ กล่าวถึงตัวอย่างต่างๆ ของการได้รับเตาฟีกจากอัลลอฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายโองการ 69 จากสูเราะฮฺ อัน-นิสาอ์ ซึ่งกล่าวถึง อานิสงค์ของการที่มุสลิมมีความรักที่บริสุทธิ์ใจต่อคนดีมีคุณธรรม ถึงแม้ว่าตัวเขาเองจะได้มีคุณสมบัติแห่งความดีเทียบเท่าบรรดาคนดีเหล่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
อธิบายแนวคิดและคำแนะนำของอิสลามในการพิชิตปัญหาต่างๆ ในชีวิตของมนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นเรื่องที่ต้องประสบในชีวิตโดยไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้ หนังสือเล่มนี้ จึงได้กล่าวถึงแนวคิดและข้อเสนอแนะบางประการ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขเยียวยา หรือลดระดับความรุนแรงของปัญหาเหล่านั้นลง เป็น 25 คำแนะนำที่คัดสรรมาจากหนังสือ “40 วิธีพิชิตปัญหา” โดยเชคอับดุลมะลิก อัล-กอสิม
- ไทย นักเขียน : อุษมาน อิดรีส ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
แนะนำตำราหะดีษทั้งหก คือ เศาะฮีหฺ อัล-บุคอรีย์, เศาะฮีหฺ มุสลิม, สุนัน อบี ดาวูด, สุนัน อัต-ติรมิซีย์, สุนัน อัน-นะสาอีย์ และ สุนัน อิบนิ มาญะฮฺ ซึ่งเป็นแม่บทของหนังสือหะดีษที่อุละมาอ์ต่างให้การยอมรับในการอ้างอิงแหล่งข้อมูล อธิบายที่มาที่ไปของหนังสือแต่ละเล่ม ความพิเศษที่แตกต่าง และการให้ความสำคัญของอุละมาอ์
- ไทย นักเขียน : สัลมาน บิน อุมัร อัส-สุนัยดีย์ แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายความหมายของคำว่า ตะดับบุรฺ (การใคร่ครวญ) ตามที่ปรากฏในอัลกุรอาน ทั้งความหมายในด้านภาษาและในด้านวิชาการตามทัศนะของอุละมาอ์นักอรรถาธิบายอัลกุรอาน รวมถึงศัพท์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตะดับบุรฺ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงเรื่องราวเศาะหาบะฮฺผู้หนึ่งในจำนวนวีรบุรุษของอิสลาม จากบรรดากัลยาณชนรุ่นแรก ที่ได้เสียสละตัวเองเพื่ออิสลาม เป็นเด็กหนุ่มที่เคยสุขสบายแต่ยอมละทิ้งความสบายทางโลกเพื่อมุ่งมั่นทำงานให้กับอิสลาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสิ่งกั้นขณะละหมาด หรือที่เรียกว่าสุตเราะฮฺ พูดถึงความสำคัญและประโยชน์ของสุตเราะฮฺ และสิ่งที่ใช้สุตเราะฮฺ รวมถึงขอบเขตของสุตเราะฮฺที่ถือว่าใช้ได้แล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน นักเขียน : มุหัมมัด อาดิล ฟาริส แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ตัวอย่างชีวประวัติของคนหนุ่มสาวเศาะหาบะฮฺที่เป็นกำลังสำคัญของอิสลามในหน้าประวัติศาสตร์อันรุ่งโรจน์ อาทิ อะลีย์ บิน อบีฏอลิบ, อิบนุ อุมัร, อัซ-ซุเบรฺ, อัสมาอ์, อิบนุ อับบาส, สะอัด บิน อบีวักกอศ, อัน-นุอฺมาน บิน บะชีร, มุอาซ บิน อัมรฺ และ มุเอาวิซ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ควรค่าแก่การศึกษาและเอาเยี่ยงอย่างสำหรับหนุ่มสาวในยุคปัจจุบัน
- ไทย นักเขียน : อับดุลร็อซซาก บิน อับดุลมุห์สิน อัล-อับบาด อัล-บัดรฺ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
กล่าวถึงความดีเจ็ดอย่างที่ส่งผลบุญต่อเนื่องหลังความตาย ที่มุสลิมควรมุ่งมั่นให้ความสำคัญในการปฏิบัติขณะที่เขายังมีชีวิตอยู่ คือ การบริจากกุศลทานถาวร(วะกัฟ) การสร้างมัสยิด การเผยแผ่ความรู้ การขุดแม่น้ำ การขุดบ่อ การปลูกต้นอินทผลัม การแจกจ่ายมุศหัฟ(อัลกุรอาน) การอบรมเลี้ยงดูบุตรให้เป็นคนดี
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายโองการ 123-126 จากสูเราะฮฺ ฏอฮา ซึ่งกล่าวถึงสภาพของชีวิตอันผาสุกที่ได้รับการชี้นำจากอัลลอฮฺด้วยการปฏิบัติตามโองการต่างๆ ของพระองค์ กับอีกชีวิตหนึ่งที่ผลักไสทางนำของพระองค์จึงทำให้ต้องตกอยู่ในความมืดบอดทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความว่าด้วยการตักเตือนจากการบริโภคจากทรัพย์สินที่ได้มาโดยไม่ถูกต้องชอบธรรม พูดถึงคำสั่งห้ามไม่ให้กระทำดังกล่าวจากโองการอัลกุรอานและหะดีษ และอธิบายพิษภัยของมันจากคำสอนอิสลาม รวมถึงคำเตือนจากบรรดาผู้รู้ในยุคแรกของอิสลามเกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
- ไทย นักเขียน : มัสลัน มาหะมะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
คุฏบะฮฺอีดิลอัฎฮา ฮ.ศ.1433 กล่าวถึงเนื้อหาแห่งสันติภาพที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญอิสลามฉบับแรก ที่ท่านศาสนทูตมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ประกาศใช้ในเมืองมะดีนะฮฺหลังจากการอพยพ เป็นปฐมบทสารแห่งสันติภาพที่แสดงถึงเจตนารมณ์ของอิสลามอย่างชัดเจนว่าสนับสนุนสันติภาพระหว่างมวลมนุษย์ไม่ว่าจะนับถือศาสนาใด
- ไทย นักเขียน : ซามีย์ วะดีอฺ อับดุลฟัตตาห์ อัล-เกาะดูมีย์ แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความคัดจากหนังสือ “รวมอายะฮฺอัลกุรอานว่าด้วยพฤติกรรมการเยาะเย้ยอิสลามและนักดาอีย์” อธิบายวิธีการตอบโต้ผู้ดูหมิ่นอิสลามตามแนวทางของอัลกุรอาน ประกอบด้วย การประกาศไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้ดูหมิ่นอิสลาม การตัดขาดจากวงชุมนุมของการดูหมิ่นล้อเลียน การโยนการเยาะเย้ยกลับไปยังผู้ดูหมิ่นเอง และการดะอฺวะฮฺเชิญชวนผู้ดูหมิ่น
- ไทย นักเขียน : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของจารีตประเพณีและอิทธิพลของจารีตประเพณีที่มีต่อกฎหมายอิสลาม โดยมุ่งเน้นนำเสนอถึงอิทธิพลของจารีตประเพณีมีต่อมนุษย์และกฎหมายทั่วไป โดยเฉพาะกฎหมายอิสลาม ซึ่งถือว่ามีอิทธิพลมาก ทั้งนี้อาจเป็นในฐานะแหล่งที่มาหรือเป็นหลักการหนึ่งของการวินิจฉัยที่จำเป็นต้องพิจารณาในการใช้กฎหมาย ผลการศึกษาพบว่า จำเป็นอย่างยิ่งที่นักกฎหมายอิสลามจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับจารีตประเพณี ทั้งนี้เพื่อใช้ในการตีความ เพื่อเข้าใจในตัวบทกฎหมาย เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการค้นคว้าตำรากฎหมายเพื่อใช้เป็นข้อพิจารณาในการเข้าใจสถานการณ์ และสุดท้ายเพื่อใช้เป็นแนวในการเข้าใจมนุษย์ นอกจากนี้การวิเคราะห์เอกสาร พบว่าจารีตที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายนั้นจะต้องมีเงื่อนไขดังนี้คือ ต้องเป็นจารีตประเพณีที่ไม่ขัดกับตัวบท ต้องถูกยอมรับและใช้กันโดยทั่วไปหรือจากผู้คนส่วนใหญ่ ต้องเป็นที่ยังนิยมใช้กันอยู่ และต้องไม่มีคำยืนยันจากผู้ใช้ว่ามีเจตนาเป็นอย่างอื่นที่ผิดไปจากจารีตประเพณีดังกล่าว