- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
มารยาทต่างๆ
จำนวนเนื้อหา: 45
- ไทย
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ห้ามการที่คนๆหนึ่งจะดื่มขณะที่เขายืนอยู่ แต่ท่านเองจะยืนดื่มเมื่อมีความจำเป็น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ห้ามหายใจรดลงในเครื่องดื่มขณะดื่ม และก็ห้ามเป่าใส่ภาชนะด้วย เพราะมีผลไม่เสียต่อสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นการทำให้เกิดความสกปรกแก่ผู้ที่ประสงค์จะดื่มมัน และท่านได้แนะนำให้ผู้ที่มีแมลงวันตกลงไปในเครื่องดื่มของเขาให้จุ่มแมลงวันลงไปทั้งตัว แล้วจึงค่อยเอามันออกไป เพราะที่ปีกข้างหนึ่งของมันมีเชื้อโรค แต่อีกข้างมียารักษา การเจือปนปิกทั้งสองในน้ำเป็นหักล้างฤทธิ์ของเชื้อโรคด้วยอนุมัติของอัลลอฮฺ และไม่จำเป็นถึงกับต้องเทเครื่องดื่มทิ้งไป เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มารยาทในการรับประทานอาหาร
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การหาวนั้นส่งผลให้เกิดความมึนงงและเกียจคร้าน มาจากชัยฏอน มุสลิมจึงต้องพยายามกลั้นเอาไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะหากทำอย่างนี้แล้วชัยฏอนจะโมโหเจ็บใจ แต่หากมุสลิมปล่อยให้หาวออกมาเสียงดัง ชัยฏอนก็จะหัวเราะใส่เขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สำหรับการจามนั้นมีมารยาทและสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม กำหนดเอาไว้ จึงสมควรที่มุสลิมจะมีมารยาทเหล่านี้ติดตัวเพราะจะได้รับความดีอย่างมากมาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มุสลิมจะถูกสอบถามถึงสิ่งที่เขาพูดด้วยว่าจะถูกตอบแทนรางวัลหรือจะถูกเอาผิด เพราะเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามคำบางคำไม่ให้พูด และในบางคำท่านก็ได้ชี้แนะคำอื่นให้พูดแทน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การหัวเราะมาก ๆ นั้นไม่ใช่เป็นแบบฉบับของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ทว่าท่านเองก็ได้เตือนเอาไว้ และบอกว่าการหัวเราะมากๆนั้นเป็นสาเหตุให้หัวใจตายด้าน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในบรรดาเรื่องต่างๆที่ผู้คนมักจะมักง่ายกับมันทั้งๆ ที่มันเป็นสิ่งต้องห้าม และถึงขึ้นเป็นบาปใหญ่เลย คือ การโกหกเพื่อให้คนอื่นๆหัวเราะ และอีกประการหนึ่งที่พาให้โกหกเช่นกันคือ การที่คนๆหนึ่งพูดทุกอย่างที่เขาได้ยินมาโดยไม่ได้ตรวจสอบให้มั่นใจก่อน เพราะสิ่งที่เขาได้ยินมามีทั้งเรื่องจริงทั้งเรื่องโกหก เมื่อเขาพูดทุกอย่างที่ได้ยินมา เขาก็จะได้พูดในสิ่งที่ไม่เกิดขึ้นจริงไปด้วย ก็เท่ากับว่าเขาได้โกหกแล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มารยาทในที่ชุมนุมประการหนึ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม มีสุนนะฮฺไว้ เพื่อยับยั้งสิ่งต่างๆที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดความขุ่นข้องหมองใจกันในระหว่างมุสลิมด้วยกัน คือ ไม่ให้คนสองคนคุยกระซิบความลับกันโดยไม่บอกคนที่สามเมื่อในที่ชุมนุมมีเพียงสามคนเท่านั้น และเช่นกันท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามการที่คนๆหนึ่งจะเข้าไปนั่งแทรกคนสองคน นอกจากจะต้องขออนุญาตทั้งสองนั้นเสียก่อน เพราะบางทีทั้งสองอาจกำลังมีเรื่องที่ไม่ต้องการให้ผู้อื่นรับรู้ก็ได้ และมารยาทอีกประการหนึ่งคือให้จบการนั่งชุมนุมด้วยดุอาอ์กัฟฟาเราะฮฺ(สิ่งลบล้าง)การชุมนุม เพื่อที่จะลบล้างความผิดเล็กๆน้อยๆที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการชุมนุมได้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มารยาทในการชุมนุมประการหนึ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ชี้แนะให้รวมกันในที่ชุมนุม ไม่แตกแยกแบ่งกลุ่มกัน และไม่ให้คนใดใช้ให้อีกคนลุกขึ้นเพื่อที่เขาจะได้เข้าไปนั่งแทน และให้ผู้ชุมนุมช่วยกันขยายวงให้กว้างขึ้น และเช่นกันผู้ใดที่ได้ลุกออกไปแล้วกลับเข้ามายังที่เดิมของเขา เขาก็ย่อมมีความชอบธรรมที่สุดที่จะนั่งตรงที่เดิมนั้น และผู้ที่มาใหม่นั้นตามสุนนะฮฺคือให้นั่งต่อท้ายที่ชุมนุม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ที่ชุมนุมและการนั่งชุมนุมกันในอิสลามนั้นมีมารยาทและสุนนะฮฺต่างๆ ที่มุสลิมทั้งหลายควรพยายามรักษาเอาไว้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ให้คำชี้แนะถึงมัน เพื่อที่การชุมนุมของเรานั้นจะได้การเป็นชุมนุมที่ดีมีความจำเริญ และอัลลอฮฺทรงพอพระทัย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การขออนุญาตนั้นเป็นมารยาทหนึ่งที่อิสลามส่งเสริมให้กระทำ เพราะเพื่อเป็นการปกปิดป้องกันเอาเราะฮฺและเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น การขออนุญาตถูกกำหนดให้ทำสามครั้งโดยการเคาะที่ประตู หรือการขอเข้าไป หากได้รับอนุญาตก็ดี แต่หากไม่ก็จงกลับไป และไม่ให้ขอเกินสามครั้ง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การตอบรับคำเชิญนั้นเป็นสิทธิของมุสลิมที่พี่น้องของเขาจะต้องกระทำให้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กำชับใช้มันเพราะเป็นการสร้างสายสัมพันธ์ทางสังคมและครอบครัวมุสลิมให้แข็งแกร่ง และการละทิ้งการตอบรับคำเชิญเพื่อร่วมรับประทานอาหารนั้นถือเป็นการฝ่าฝืนต่อท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความฝันนั้นมีสิ่งที่เป็นมารยาทและสุนนะฮฺต่างๆที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม มีแบบอย่างไว้ สมควรที่มุสลิมจะต้องพยายามรักษาเพื่อให้เขารอดพ้นจากชัยฏอนและจากการกระซิบกระซาบของมันด้วยอนุมัติของอัลลอฮฺ ที่มันพยายามใช้มันทำร้ายผู้ศรัทธา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความฝันเรื่องราวของมันนั้นยิ่งใหญ่ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เคยถามถึงความฝันของบรรดาเศาะหาบะฮฺ และตีความให้พวกเขา และท่านก็บอกกล่าวว่า การฝันดีนั้นมาจากอัลลอฮฺ และการฝันร้ายนั้นมาจากชัยฏอน และท่านก็ได้เตือนไม่ให้โกหกเรื่องของความฝัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การนอนนั้นมีมารยาทและสุนนะฮฺต่างๆ ที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำเป็นแบบอย่าง และได้สอนมันแก่บรรดาเศาะหาบะฮฺของท่าน หนึ่งในนั้นก็คือ ให้นอนโดยมีน้ำละหมาดอยู่ และให้กล่าวดุอาอ์ก่อนนอนและดุอาอ์หลังตื่นนอน และท่าทางการนอนที่ถูกต้อง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หนึ่งในงานที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำคือการไปเยี่ยมคนป่วย เพราะเป็นการช่วยให้ผู้ป่วยไม่คิดฟุ้งซ่านและทำให้เขามีจิตใจดีขึ้น มันเป็นสิทธิของมุสลิมต่อพี่น้องมุสลิมด้วยกัน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า มันมีผลบุญอย่างมหาศาล เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัต-ตะยามุน คือ การเริ่มด้วยข้างขวาก่อน การให้ข้างขวาก่อนนั้นเป็นเรื่องการให้เกียรติ เป็นสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเป็นเครื่องหมายประจำตัวของคนมุสลิม และอีกทั้งยังเป็นการทำสวนทางกับชัยฏอนที่มันทำเรื่องต่างๆ ด้วยข้างซ้ายของมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทบัญญัติ(อิสลาม)ได้ห้ามคำพูดบางคำ เพราะถือเป็นมารยาทที่ไม่ดีต่ออัลลอฮฺ หรือเป็นการเทียบเคียงสิ่งอื่นเสมือนพระองค์ หนึ่งในนั้นคือ การด่าว่ากาลเวลา หรือด่าว่าช่วงเวลาที่เกิดทุกข์ภัย เพราะกาลเวลาไม่ได้เป็นผู้กระทำ ผู้กระทำจริงๆคืออัลลอฮฺ และ(เช่นกันห้าม)การกล่าวว่า (สิ่งนี้คือ)สิ่งที่อัลลอฮฺ และคนนั้นคนนี้ประสงค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม