- ต้นไม้การจัดหมวดหมู่
- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- ความสะอาด
- การละหมาด
- ญะนาซะฮฺ
- ซะกาต
- การถือศีลอด
- ฮัจญ์และอุมเราะฮฺ
- หุกมการอ่านคุฏบะฮฺวันศุกร์
- การละหมาดของผู้ป่วย
- การละหมาดของผู้เดินทางไกล
- ละหมาดในโอกาสต่างๆ
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- Major Sins and Prohibitions
- ภาษาอาหรับ
- การดะอฺวะฮฺและนักดาอีย์
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
- The Importance of Calling to Allah
- ประวัติศาสตร์
- วัฒนธรรมอิสลาม
- ในช่วงโอกาสต่างๆ
- ความเป็นจริงในปัจจุบันและสถานการณ์ควาเป็นอยู่ของชาวมุสลิม
- โรงเรียนและการศึกษา
- สื่อมวลชนและหนังสือพิมพ์
- วารสารและการประชุมวิชาการ
- การสื่อสารและอินเทอร์เน็ต
- วิทยาศาสตร์ในมุมมองของมุสลิม
- ระบบอิสลาม
- การแข่งขันของเว็บไซต์
- แอพและโปรแกรมต่างๆ
- ลิงค์
- กองอำนวยการ
- คุฏบะฮฺญุมอัต
- Academic lessons
- The Prophetic Biography
- Introducing Islam to Muslims
- Introducing Islam to non-Muslims
Eid al-Fitr
จำนวนเนื้อหา: 12
- ไทย ผู้เขียน : อุษมาน อิดรีส ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนังสือที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวันอีดทั้งสองในด้านต่างๆ เช่นความหมายของอีด ศาสนกิจที่สนับสนุนให้ปฏิบัติในวันอีด หุก่มเกี่ยวกับศาสนกิจต่างๆ ในวันอีด หุก่มการละหมาดอีดที่มุศ็อลลา เป็นต้น
- ไทย Lecturer : มัสลัน มาหะมะ แปล : ซุฟอัม อุษมาน
คุฏบะฮฺอีดิลฟิฏรฺ ฮ.ศ.1433 โดยอาจารย์มัสลัน มาหะมะ เผยแพร่โดยเครือข่ายวิทยุชุมชน สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ในหัวข้อ “นาวาแห่งความรอดพ้น” กล่าวถึงความจำเป็นที่มนุษย์จะต้องยึดมั่นกับอิสลาม อันเป็นสัจธรรมจากพระผู้เป็นเจ้า ผ่านโองการอัลกุรอานที่นำมาเผยแพร่โดยศาสนทูตมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เพื่อความรอดพ้นท่ามกลางกระแสคลื่นแห่งโลกดุนยาที่ถาโถมอย่างหนักหน่วง ทางเดียวที่จะทำให้มนุษย์ปลอดภัยก็คือการขึ้นไปอยู่บนเรือของอิสลาม ที่สามารถล่องฝ่ากระแสต่างๆ ไปสู่ฝั่งแห่งความสำเร็จในอาคิเราะฮฺได้
- ไทย ผู้บรรยาย : ซิดดิ๊ก มูฮำหมัด สอิ๊ด ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์
บรรยายเกี่ยวกับภารกิจมุสลิม 13 ข้อในเช้าวันอีด อาทิ การจ่ายซะกาตฟิฏรฺ การทำความสะอาดร่างกาย การออกไปละหมาดที่สนาม การเปลี่ยนเส้นทางขากลับ การอวยพร การเยี่ยมเยียน การบริจาคทาน และอื่นๆ จากเว็บมุสลิมออนแอร์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุนนะฮฺต่างๆ ที่สนับสนุนให้ปฏิบัติในวันอีด อาทิ การชำระร่างกายให้สะอาด การแต่งตัวให้สง่างาม การกินอาหารก่อนไปละหมาดอีด การละหมาดที่มุศ็อลลา การกล่าวตักบีรฺ การอวยพรวันอีด เป็นต้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
อธิบายความสำคัญของวันอีดในอิสลาม รวมทั้งสิ่งต่างๆ ที่สนับสนุนและอนุญาตให้ทำในวันอีด ซึ่งทุกๆ ประชาชาติจะมีวันอีด(วันรื่นเริง) เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ในวันดังกล่าวนั้นเองที่จะทำให้พวกเขาได้รื่นเริงและสุขสันต์กัน สำหรับวันอีดหรือวันรื่นเริงของเรานั้น มันคือวันที่ได้ผนวกไว้ด้วยความศรัทธา จรรยามารยาท และปรัชญาในการใช้ชีวิตของประชาชาตินี้เอาไว้ด้วย เพราะวันรื่นเริงบางประเภทของคนบางกลุ่มนั้นเป็นวันรื่นเริงเฉลิมฉลองที่คิดค้นขึ้นโดยสติปัญญาของมนุษย์ซึ่งห่างไกลและแตกต่างสิ้นเชิงจากแนวทางแห่งวิวรณ์(วะหฺยู)ของพระผู้เป็นเจ้า ในขณะที่ “วันอีดิลฟิฏรฺและวันอีดิลอัฎฮา” นั้น คือวันรื่นเริงที่มาจากอัลลอฮฺ ตะอาลา ซึ่งพระองค์ได้ทรงบัญญัติแก่ประชาชาติอิสลาม
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย
- ไทย นักเขียน : อับดุลมะลิก อัลกอสิม แปล : ซุฟอัม อุษมาน
เรื่องเล่าสะท้อนสภาพของมุสลิมกับการเฉลิมฉลองเทศกาลของผู้อื่น ในขณะที่สังคมมุสลิม ทั้งหนุ่มสาวและผู้ใหญ่ ต่างก็ร่วมเฉลิมฉลองในเทศกาลต่างๆ ของศาสนิกอื่น เรากลับไม่พบว่ามีใครที่ไม่ใช่มุสลิมมาร่วมเฉลิมฉลองในวันอีดของเราเลย ... เรื่องเล่านี้จะสะกิดให้ทุกคนได้ตระหนักถึงสภาพอันน่าหดหู่ และอาจจะทำให้คิดได้จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในที่สุด