- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
บัญญัติว่าด้วยการละหมาด
จำนวนเนื้อหา: 13
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ทุกภาษา
- บัญญัติว่าด้วยการละหมาด
-
ไทย
นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หิกมะฮฺ(เคล็ดลับ)ที่ได้บัญญัติการละหมาด ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อคำสั่งตามบทบัญญัติ สิ่งบ่งบอกถึงการเชิดชูในข้อคำสั่งทุกอย่างของอัลลอฮฺ ความมั่งคงของจิตใจ หุก่มของการละหมาด ลักษณะของอารมณ์ ความสำคัญของการละหมาด จำนวนเวลาละหมาดที่เป็นวาญิบ(บังคับ) สิ่งบ่งบอกว่าเข้าสู่สภาพบุลูฆฺ(บรรลุศาสนภาวะ) ความประเสริฐของการรอคอยที่จะละหมาด ความประเสริฐของการเดินมุ่งสู่การละหมาดที่มัสญิดในสภาพที่มีวุฎูอ์ หุก่มสำหรับผู้ที่ปฏิเสธการเป็นวาญิบของการละหมาดหรือผู้ที่ละทิ้งการละหมาด ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่ปฏิเสธการละหมาดหรือผู้ที่ละทิ้งการละหมาด สิ่งที่ทำให้เกิดการคุชูอฺ(นอบน้อมสงบเสงี่ยม)ในละหมาด ช่วงเวลาที่มีการเสนอผลการทำดีต่ออัลลอฮฺ ลักษณะการร้องไห้ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ
-
ไทย
ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
-
ไทย
ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
-
ไทย
นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงเจาะจงให้มัสยิดอัล-หะรอมที่มักกะฮฺ และมัสยิดนบีที่มะดีนะฮฺ เป็นการเฉพาะไม่เหมือนกับที่อื่นๆ และให้ความโปรดปรานทั้งสองมากกว่ามัสยิดที่อื่นๆ และทำให้ผลบุญของการละหมาดในมัสยิดทั้งสองนี้มากกว่าผลบุญของละหมาดที่อื่นหลายเท่า และทรงห้ามการเดินทางที่ไปเพื่อใกล้ชิดกับอัลลอฮฺนอกจากมัสยิดทั้งสองและมัสยิดอัล-อักศอ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
-
ไทย
มีคนมุสลิมจำนวนไม่น้อย โดยเฉพาะในหมู่เยาวชนของเราทั้งชายและหญิง ที่กล้าละทิ้งการทำละหมาดโดยไม่มีเหตุผลที่ยอมรับได้ ถึงแม้ว่าการละหมาดนั้นเป็นบทบัญญัติที่จะละเลยไม่ได้ ทั้งในยามสุขสบายหรือยามยากลำบาก แม้กระทั่งในยามศึกสงครามก็จำเป็นต้องทำการละหมาด บางคนเพียงแค่อยู่ในระหว่างการเดินทางด้วยรถไฟ หรือรถทัวร์เขาก็ไม่ยอมละหมาดด้วยเหตุผลที่ยอมรับไม่ได้ว่า กางเกงในสกปรก หรือไม่มีผ้าละหมาด บางคนไม่ละหมาดเพราะไม่รู้เรื่องการละหมาดเลย บางคนทิ้งละหมาดโดยไม่กลัวที่จะต้องติดบาปใหญ่ และจะต้องถูกลงโทษหนักในนรก ด้วยเหตุนี้เราถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องรู้จักความสำคัญของการละหมาดโดยการตั้งคำถามว่า “เราละหมาดทำไม?"
- ไทย
- ไทย
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสิ่งกั้นขณะละหมาด หรือที่เรียกว่าสุตเราะฮฺ พูดถึงความสำคัญและประโยชน์ของสุตเราะฮฺ และสิ่งที่ใช้สุตเราะฮฺ รวมถึงขอบเขตของสุตเราะฮฺที่ถือว่าใช้ได้แล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
รวมหลักฐานจากหะดีษต่างๆ ของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่กล่าวถึงคุณค่าและความสำคัญของการไปละหมาดญะมาอะฮฺแต่เนิ่นๆ เช่น การได้รับดุอาอ์ที่มะลาอิกะฮฺช่วยขอให้ การได้ตักบีรฺครั้งแรกพร้อมอิมาม การมีสมาธิในการเดินไปละหมาด การได้มีโอกาสรำลึกถึงอัลลอฮฺและละหมาดสุนัต เป็นต้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาน จารง ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการคุชูอฺ หรือการมีสมาธิในการละหมาด โดยอธิบายให้เห็นถึงคุณค่าของการคุชูอฺ และแจกแจงสาเหตุต่างๆ ที่จะทำให้ได้มาซึ่งความคุชูอฺ ตามที่มีคำสอนจากอัลกุรอานและหะดีษ รวมถึงอธิบายสภาพของผู้ละหมาดในระดับต่างๆ และผลที่จะได้รับจากการละหมาดตามระดับนั้นๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความเกี่ยวกับการความประเสริฐของกิยามุลลัยลฺ หรือการละหมาดในยามค่ำคืน อันเป็นภารกิจสุดประเสริฐที่อิสลามกระตุ้นและสนับสนุน พร้อมยกตัวอย่างจากการปฏิบัติจริงของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเศาะหาบะฮฺของท่าน จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหา เวลาละหมาดที่วาญิบทั้งห้าเวลา จะละหมาดตอนไหนหากอยู่ในสภาพอากาศที่ร้อนจัด เวลาละหมาด หากอยู่ในสถานที่ที่ไม่สามารถแยกแยะเวลาได้