- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
ฟิกฮฺอิบาดาต
จำนวนเนื้อหา: 194
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หัจญ์มับรูรนั้นคือหัจญ์ที่สมบูรณ์แบบ ปราศจากสิ่งที่ทำให้ผลบุญบกพร่อง มันเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นที่รักของอัลลอฮฺมากที่สุด เพราะในนั้นมีการแสดงความเป็นบ่าวของมนุษย์ต่ออัลลอฮฺในหลากหลายรูปแบบ อัลลอฮฺทรงสัญญาว่าจะตอบแทนรางวัลอย่างใหญ่หลวง และจะทรงให้อภัยต่อบาปต่างๆ จนกระทั่ง มุสลิมผู้ทำหัจญ์กลับภูมิลำเนาไปในสภาพขาวสะอาดปราศจากบาปเหมือนกับตอนที่แม่เขาเพิ่งจะคลอดเขาออกมา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า หัจญ์ของทารกน้อยคนนั้นใช้ได้ และคนที่พาเขาไปทำหัจญ์ก็ได้รับผลบุญด้วย เช่นเดียวกันนั้น ท่านก็ได้ห้ามผู้หญิงไม่ให้เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อมไปด้วย ถึงแม้ว่าออกไปเพื่อทำหัจญ์ก็ตาม และใช้ให้ผู้ชายพักสงครามและการญิฮาด และให้ออกไปกับภรรยาของเขาที่จะไปทำหัจญ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิบวันของซุลหิจญะฮฺนั้นประเสริฐกว่าวันอื่นตลอดทั้งปี ณ ที่ของอัลลอฮฺ และการทำความดีในช่วงดังกล่าวนั้นถือเป็นการงานที่อัลลอฮฺทรงรักมากที่สุด และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กำหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะเชือดกุรบาน ไม่ให้ตัดสิ่งใดจากเส้นขนหรือเล็บออก จนกว่าเขาจะเชือดกุรบานของเขาเสียก่อน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หัจญ์เป็นหนึ่งในหลักการปฏิบัติทั้งห้าอันยิ่งใหญ่ อัลลอฮฺทรงบังคับผู้ที่มีความสามารถให้ทำสักครั้งหนึ่งในชีวิต และทรงทำให้การทำหัจญ์นั้นเกิดประโยชน์อย่างมากมายแก่บรรดามุสลิมทั้งทางด้านศาสนาและทางโลก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิบวันแรกของซุลหิจญะฮฺนั้นประเสริฐกว่าวันอื่นในรอบปี ณ ที่ของอัลลอฮฺ และการทำความดีในช่วงดังกล่าวนั้นถือเป็นการงานที่อัลลอฮฺทรงรักมากที่สุด และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กำหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะเชือดกุรบาน มิให้เอาสิ่งใดจากเส้นขน หรือเล็บออก(คือ ห้ามตัดห้ามถอน –ผู้แปล) จนกว่าเขาจะเชือดสัตว์เชือดของเขาเสียก่อน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย
บทความแนะนำแก่ผู้ที่ประสงค์จะไปทำหัจญ์ ด้วยคำแนะนำเก้าข้อ ก่อนที่จะเดินทางเพื่อบำเพ็ญหัจญ์ เช่น การศึกษาสิ่งที่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับหัจญ์ การเตาบัตตัวก่อนไปหัจญ์ การขออภัยจากพี่น้องเพื่อนฝูง การเตรียมค่าใช้จ่ายให้กับครอบครัว การร่วมเดินทางกับคนดี การใช้ทรัพย์สินที่หะลาล การเขียนวะศียะฮฺ การบริสุทธิ์ใจ เป็นต้น
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาอีล ซุลก็อรนัยน์ ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงข้อผิดพลาดบางประการที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ประกอบพิธีหัจญ์ อาทิ การละหมาดนอกเวลา การขอดุอาอ์หันหน้าไปทางกุโบร์ของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม การถ่ายรูปที่ระลึกจนเกินเลย การอิห์รอมเลยมีกอต การขอดุอาอ์เฉพาะบทอย่างเจาะจงในเฏาะวาฟ การอยู่นอกเขตอะเราะฟะฮฺ การมอบหมายให้คนอื่นขว้างหินแทน การตัดผมไม่ทั่ว การโกนเคราเมื่อตะหัลลุล จากหนังสือ “อัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ” โดยเชค ดร.อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุนัขนั้นถือเป็นหนึ่งในสัตว์ที่ศาสนาห้ามมีไว้ครอบครอง ไม่มีข้ออนุโลมใดๆ นอกจากจะเป็นจำเป็นอย่างยิ่งเท่านั้น เพราะมันมีผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพ และเพราะมลาอิกะฮฺไม่เข้าบ้านที่ข้างในมีสุนัขอยู่ หรือเพราะเหตุผลอื่นๆอีกที่อัลลอฮฺทรงรู้ดียิ่ง ดังนั้น มุสลิมจึงควรระวังไม่มักง่ายนำสุนัขเข้ามาในบ้านโดยไม่มีความจำเป็น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงผลบุญแห่งความดีบางประการที่ผู้ตายยังคงได้รับหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้ว อาทิ ดุอาอ์ที่มุสลิมขอให้แก่เขา ผู้ปกครองหรือญาติถือศีลอดชดใช้แทนผู้ตาย การชดใช้หนี้สินแทนผู้เสียชีวิต คุณงามความดีที่ลูกได้กระทำ ร่องรอยความดีงามและกุศลทานที่ส่งผลต่อเนื่อง เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การผ่อนปรนของอัลลอฮฺที่มีต่อประชาชาตินี้ และยกเอาความลำบากออกไปจากพวกเขาประการหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงบัญญัติให้ย่อละหมาดที่มีสี่ร็อกอะฮฺในช่วงเดินทาง ให้เหลือละหมาดสองร็อกอะฮฺ และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในช่วงเดินทางของท่าน ท่านจะย่อละหมาดที่มีสี่ร็อกอะฮฺ และไม่อ่านเพิ่มเกินจากสองร็อกอะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การผ่อนปรนของอัลลอฮฺที่มีต่อประชาชาตินี้ และยกเอาความลำบากออกไปจากพวกเขาประการหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงบัญญัติให้ละหมาดรวมในการเดินทางได้ เพราะคนเดินทางโดยทั่วไปแล้วจะพบกับความลำบากในการหยุดแวะในทุกๆเวลาละหมาด ฉะนั้น คนเดินทางจึงสามารถรวมละหมาดซุฮ์รฺกับอัศรฺในเวลาใดเวลาหนึ่งของทั้งสองได้ และเช่นกันกับละหมาดมัฆริบและอิชาอ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เมื่อเกิดแผ่นดินแห้งแล้ง ไม่มีฝนตก ให้มุสลิมทั้งหลายออกมาละหมาดขอฝนและการขอช่วยเหลือจากอัลลอฮฺ ในสภาพผู้ต่ำต้อย ผู้นอบน้อม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
แผ่นดินเกิดแห้งแล้งขึ้นในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม แล้วก็มีชายคนหนึ่ง ขณะที่ท่านเราะสูล กำลังคุฏบะฮฺวันศุกร์อยู่นั้น ได้ลุกขึ้นมาขอให้ท่านขอฝนจากอัลลอฮฺให้พวกเขา แล้วท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็ได้ขอดุอาอ์ในระหว่างคุฏบะฮฺ แล้วก็มีฝนตกลงมาในขณะนั้นทันที ตกเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์เต็ม จนกระทั้งพวกเขาพากันมาขอให้ท่านขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺให้ฝนหยุดตก เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การแปรงฟันนั้นคือการชำระล้างและทำความสะอาดปาก และเป็นสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้ทำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามช่วงเวลาที่กำหนดให้ทำความสะอาดเช่น การละหมาด หรือเมื่อมีกลิ่นปาก ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ชอบการแปรงฟัน และท่านแปรงฟันบ่อยครั้งมาก และหลายครั้งที่ท่านใช้บรรดาเศาะหาบะฮฺทำการแปรงฟัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในการฝังคนตายมีข้อปฏิบัติและสุนนะฮฺที่มุสลิมควรยึดถือ และช่วยกันรักษาเพื่อจะได้ปฏิบัติตามสุนนะฮฺของท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) ในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงข้อปฏิบัติบางประการเกี่ยวกับการจัดการศพ อาทิ การหอมคนตาย การรีบจัดการศพ การห้ามด่าคนตาย การจ่ายหนี้ให้คนตาย ฯลฯ ซึ่งต้องทำความเข้าใจกับมันในการจัดการกับศพ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ผู้ละหมาดให้อ่านฟาติหะฮฺในละหมาดคนตายหลังจากตักบีรครั้งที่หนึ่ง และหลังตักบีรที่สองให้อ่านเศาะละวาตให้ท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) เหมือนที่อ่านตอนนั่งตะชะฮ์ฮุด หลังจากนั้นให้ขอดุอาอ์ให้คนตายในตักบีรที่สาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การละหมาดคนตายมีหลักปฏิบัติเป็นการเฉพาะ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ทำเป็นแบบอย่างเอาไว้ และบางประการมีมากกว่า 1 แบบ ก็อนุญาตให้ทำได้ทั้งสองแบบ มีบัญญัติสำหรับผู้พลาดการละหมาดคนตายยังสามารถละหมาดให้ได้แม้ว่าเขาจะถูกฝังไปแล้วก็ตาม เช่นเดียวกันกับท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม) มีบัญญัติให้ละหมาดคนตายให้แก่คนตายที่ตัวไม่อยู่ด้วยได้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เตาฮีดเป็นเรื่องใหญ่ และด้วยเหตุนี้รางวัลสำหรับผู้ที่ชีวิตของเขาจบลงด้วยการยอมรับในเตาฮีด โดยการกล่าวคำปฏิญาณ(ชะฮาดะฮฺ)ทั้งสอง คือเขาจะได้เข้าสวรรค์ เช่นเดียวกับที่ท่านรซูล(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)ได้ใช้ให้ผู้ที่ใกล้จะถึงวาระสุดท้ายของชีวิตให้คิดในทางที่ดีต่ออัลลอฮฺ และให้หวังความเมตตาของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การพูดถึงความตาย และสิ่งที่อยู่หลังความตายมีผลต่อการปรับปรุงจิตใจตนเอง และกระตุ้นให้เกิดการสะสมเสบียงเพื่อกาลข้างหน้า และลดการหมกมุ่นในโลกดุนยานี้ ด้วยเหตุนี้เองท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)จึงส่งเสริมให้พูดถึงความตายให้มากๆ และท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)เองก็ได้ห้ามการที่มุสลิมจะอยากตายเพียงเพราะมีทุกข์ภัยมาประสบ เพราะคนเราไม่รู้หรอกว่า การมีชีวิตอยู่ต่อหรือการตายจะดีกว่า แต่ให้ขอต่ออัลลอฮฺให้ทรงกำหนดสิ่งที่ดีกว่าแก่ตัวเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม