- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
การละหมาด
จำนวนเนื้อหา: 50
-
ไทย
นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการละหมาดญะมาอะฮฺ หรือการละหมาดเป็นหมู่คณะที่มัสยิด และกล่าวตักเตือนผู้ที่ละเลยการละหมาดญะมาอะฮฺ โดยรวมหลักฐานต่างๆ ที่พูดถึงเรื่องนี้จากอัลกุรอาน และหะดีษ ผ่านคำอธิบายของอุละมาอ์นักวิชาการอิสลาม รวมถึงได้ชี้แจงถึงความประเสริฐและคุณค่าบางประการของการละหมาดญะมาอะฮฺไว้ด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
-
ไทย
นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ว่าด้วยการละหมาดญะมาอะฮฺ ประกอบด้วย เคล็ดลับในการบัญญัติการละหมาดญะมาอะฮฺ การชุมนุมที่ยิ่งใหญ่ของบรรดามุสลิม หุก่มการละหมาดญะมาอะฮฺ ความประเสริฐของการละหมาดญะมาอะฮฺที่มัสญิด สถานที่ใดที่ใช้ให้ละหมาดญะมาอะฮฺ หุก่มการออกไปละหมาดที่มัสญิดสำหรับผู้หญิง จำนวนขั้นต่ำในการละหมาดญะมาอะฮฺ หุก่มสำหรับผู้ละหมาดคนเดียวหลังจากนั้นพบว่ามีญะมาอะฮฺละหมาดอยู่ หุก่มสำหรับผู้ที่ไม่ละหมาดญะมาอะฮฺพร้อมอิมามที่มัสญิด
-
ไทย
นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ อธิบายวิธีการละหมาด พร้อมบทดุอาอ์ต่างๆ ในละหมาด ตามขั้นตอนตั้งแต่ เริ่มตักบีรฺ ดุอาอ์อิสติฟตาหฺ อ่านฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺ แบบอย่างจากสุนนะฮฺในการอ่านสูเราะฮฺในการละหมาดทั้งห้า การรุกูอฺ บทดุอาอ์ในรุกูอฺ ดุอาอ์ขณะยืนตรงเมื่อเงยขึ้นจากรุกูอฺ การสุญูด ดุอาอ์ในสุญูด เงยขึ้นสุญูด ดุอาอ์ขณะนั่งระหว่างสุญูด การนั่งตะชะฮฺฮุด สำนวนตะชะฮฺฮุด สำนวนการเศาะละวาต ดุอาอ์ก่อนให้สลาม ให้สลาม โดยยึดรูปแบบตามสุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม
-
ไทย
นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หิกมะฮฺ(เคล็ดลับ)ที่ได้บัญญัติการละหมาด ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อคำสั่งตามบทบัญญัติ สิ่งบ่งบอกถึงการเชิดชูในข้อคำสั่งทุกอย่างของอัลลอฮฺ ความมั่งคงของจิตใจ หุก่มของการละหมาด ลักษณะของอารมณ์ ความสำคัญของการละหมาด จำนวนเวลาละหมาดที่เป็นวาญิบ(บังคับ) สิ่งบ่งบอกว่าเข้าสู่สภาพบุลูฆฺ(บรรลุศาสนภาวะ) ความประเสริฐของการรอคอยที่จะละหมาด ความประเสริฐของการเดินมุ่งสู่การละหมาดที่มัสญิดในสภาพที่มีวุฎูอ์ หุก่มสำหรับผู้ที่ปฏิเสธการเป็นวาญิบของการละหมาดหรือผู้ที่ละทิ้งการละหมาด ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่ปฏิเสธการละหมาดหรือผู้ที่ละทิ้งการละหมาด สิ่งที่ทำให้เกิดการคุชูอฺ(นอบน้อมสงบเสงี่ยม)ในละหมาด ช่วงเวลาที่มีการเสนอผลการทำดีต่ออัลลอฮฺ ลักษณะการร้องไห้ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ
-
ไทย
นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความประเสริฐของการละหมาด และอะมัลต่างๆ ที่เีกี่ยวข้องกับละหมาด พร้อมหลักฐานจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ จากหนังสือมุคตะศ็อร อัล-ฟิกฮิล อิสลามีย์
-
ไทย
ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
-
ไทย
ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
-
ไทย
นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงเจาะจงให้มัสยิดอัล-หะรอมที่มักกะฮฺ และมัสยิดนบีที่มะดีนะฮฺ เป็นการเฉพาะไม่เหมือนกับที่อื่นๆ และให้ความโปรดปรานทั้งสองมากกว่ามัสยิดที่อื่นๆ และทำให้ผลบุญของการละหมาดในมัสยิดทั้งสองนี้มากกว่าผลบุญของละหมาดที่อื่นหลายเท่า และทรงห้ามการเดินทางที่ไปเพื่อใกล้ชิดกับอัลลอฮฺนอกจากมัสยิดทั้งสองและมัสยิดอัล-อักศอ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
-
ไทย
นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาน จารง ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการละหมาด ผลบุญอันใหญ่หลวงสำหรับผู้ที่ดูแลรักษาการละหมาด รวมถึงบทลงโทษสำหรับผู้ละเลยและละทิ้งการละหมาด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์.
-
ไทย
นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วย คำกล่าวซิกิรฺหลังการละหมาดห้าเวลาตามสุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม สุนนะฮฺให้นับจำนวนตัสบีหฺด้วยการใช้ปลายนิ้วมือหรือข้อนิ้วมือทั้งสอง สิ่งที่ควรกล่าวเมื่อเสร็จจากละหมาดศุบหฺ ความประเสริฐของการนั่งเพื่อการซิกิรฺหลังจากละหมาดศุบหฺและอัศรฺ ช่วงเวลาซิกิรฺและดุอาอ์
-
ไทย
มีคนมุสลิมจำนวนไม่น้อย โดยเฉพาะในหมู่เยาวชนของเราทั้งชายและหญิง ที่กล้าละทิ้งการทำละหมาดโดยไม่มีเหตุผลที่ยอมรับได้ ถึงแม้ว่าการละหมาดนั้นเป็นบทบัญญัติที่จะละเลยไม่ได้ ทั้งในยามสุขสบายหรือยามยากลำบาก แม้กระทั่งในยามศึกสงครามก็จำเป็นต้องทำการละหมาด บางคนเพียงแค่อยู่ในระหว่างการเดินทางด้วยรถไฟ หรือรถทัวร์เขาก็ไม่ยอมละหมาดด้วยเหตุผลที่ยอมรับไม่ได้ว่า กางเกงในสกปรก หรือไม่มีผ้าละหมาด บางคนไม่ละหมาดเพราะไม่รู้เรื่องการละหมาดเลย บางคนทิ้งละหมาดโดยไม่กลัวที่จะต้องติดบาปใหญ่ และจะต้องถูกลงโทษหนักในนรก ด้วยเหตุนี้เราถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องรู้จักความสำคัญของการละหมาดโดยการตั้งคำถามว่า “เราละหมาดทำไม?"
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบาย ความประเสริฐของการวุฎูอ์ และอาซาน พร้อมหลักฐานจากหนังสือมุคตะศ็อร อัล-ฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย
- ไทย
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุริยุปราคา และจันทรุปราคาเป็นหนึ่งในสัญญานของอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงทำให้บ่าวเกิดความวิตกหวาดกลัว และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บัญญัติว่าเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นจากทั้งสองให้รีบไปสู่การละหมาด สู่การรำลึก และการขออภัยโทษ และอ้อนวอนขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺจนกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะคลายไป เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงบัญญัติหลักปฏิบัติหลายประการสำหรับการละหมาดสุนัต แตกต่างจากละหมาดฟัรฎูเพื่อทำให้เกิดความสะดวกและเป็นการผ่อนปรนให้บ่าวของพระองค์ อาทิ อนุญาตให้ละหมาดบนพาหนะได้ ถึงแม้มันไม่ได้หันไปทางกิบละฮฺก็ตาม ซึ่งในละหมาดฟัรฎูจะทำอย่างนั้นไม่ได้ และอนุญาตให้นั่งละหมาดสุนัตได้แม้ไม่มีสาเหตุสุดวิสัยก็ตามเป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การละหมาดเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และเป็นหนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่บ่าวจะใช้มันเพื่อใกล้ชิดกับพระผู้อภิบาลของเขา ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า การทำละหมาดมากๆ นั้นเป็นเหตุให้ได้เข้าสวรรค์ และท่านได้ใช้ให้ผู้ชายละหมาดสุนัตหรือละหมาดที่ไม่ใช่ฟัรฎูในบ้านของเขา เพราะเป็นการทำความดีแบบลับๆ และเป็นการสอนครอบครัว และทำให้พวกเขาเคยชินกับการละหมาด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุนนะฮฺประการหนึ่งของท่านเราะสุลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม คือให้ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเบาๆ ไม่ยาว และท่านก็อ่านสูเราะฮฺสั้น ๆ บางบทเป็นการเฉพาะ หรือเพียงไม่กี่อายะฮฺสั้น ๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเป็นอิบาดะฮฺอันประเสริฐที่ท่านนบีรักษามันไว้ และสนับสนุนเศาะหาบะฮฺให้ทำมัน และกล่าวถึงมันว่า –เพราะมันมีผลตอบแทนอันยิ่งใหญ่- ดีกว่าดุนยาและสิ่งทั้งหมดในนั้น และเมื่อท่านเห็นผู้ใดละหมาดสุนัตหลังละหมาดฟัจญ์รฺ ท่านจะแสดงความรังเกียจ แต่พอทราบว่าเป็นการละหมาดชดใช้สุนัตฟัจญ์รฺ ท่านก็นิ่งและยอมรับในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำแบบอย่างให้ละหมาดสุนนะฮฺก่อนและหลังละหมาดฟัรฎู และท่านก็ได้ทำมันอย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุนให้รักษามัน และด้วยเหตุนี้จึงเรียกว่าเป็น สุนัตเราะวาติบ(ละหมาดสุนัตที่ทำเป็นประจำ) ดังนั้น มุสลิมควรเอาใจใส่และรักษามันไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม