- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
จำนวนเนื้อหา: 63
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ทุกภาษา
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความเตือนใจเกี่ยวกับความสำคัญของการศรัทธาและการยืนหยัดอยู่บนความดีจนกระทั่งหมดลมหายใจ ซึ่งจะเป็นสาเหตุแห่งการได้รับสวรรค์ และได้รับการแจ้งข่าวดีจากอัลลอฮฺโดยบรรดามะลาอิกะฮฺ ซึ่งทั้งปวงนั้นเป็นความเมตตาอันยิ่งใหญ่ล้นพ้นของอัลลอฮฺสำหรับผู้ที่ภักดีต่อพระองค์อย่างเสมอต้นเสมอปลาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
- ไทย
เคล็ดลับดีๆให้ชีวิตมีความสุข : เเผ่นผับภาษาไทย , ผู้เเต่งดร.ฮัยซัม ซัรฮาน , เป็นเเผ่นผับที่สรุปจากหนังสือเคล็ดลับดีๆให้ชีวิตมีความสุข ผู้ประพันธ์เชคอัซซะดีย์ - เราะห์ฮิมะฮุลลอฮฺ - กล่าวถึงสาเหตุที่จะนำไปสู่ความสุขที่เเท้จริง , เเละอธิบายรายละเอียดถึงวิธีการต่างๆ เเละสื่อของมันอย่างชัดเจน , รวมถึงสาเหตุของการได้รับ , โดยอาศัยหลักฐานด้านบทบัญญัติจากอัลกุรอ่านเเละเเบบอย่างของท่านนบี. ผู้เเต่งได้ทำการจัดเรียงเนื้อหาอย่างสวยงาม เเละจัดเรียงหัวข้อโดยสรุป.
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเกรงกลัวอัลลอฮฺนั้นถือเป็นระดับขั้นหนึ่งของความศรัทธา ที่มีความสำคัญและมีความประเสริฐมากที่สุด และเป็นการงานที่จำเป็นต้องมีความอิคลาศบริสุทธิ์ใจเป็นเงื่อนไขสำคัญ บทความนี้ได้อธิบายประเภทต่างๆ ของความกลัว อาทิ ความกลัวตามธรรมชาติ ความกลัวที่ต้องห้าม ความกลัวที่วาญิบ นั่นคือความกลัวต่ออัลลอฮฺ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัฟนาน เพ็ชรทองคำ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความอธิบายควาหมายของความแข็งกระด้างของหัวใจ และสภาพอันน่าเป็นห่วงที่อาจจะทำให้มนุษย์เตลิดออกจากเส้นทางแห่งพระผู้เป็นเจ้า รวมทั้งอธิบายวิธีการป้องกันและแก้ไขสภาพดังกล่าวด้วยรูปแบบต่างๆ ตามที่ได้มีตัวอย่างจากคำสอนของอัลกุรอาน สุนนะฮฺ และกัลยาณชนชาวสะลัฟ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงการเรียกร้องของอัลลอฮฺ ให้มนุษย์กลับเนื้อกลับตัวจากความผิดบาปที่ได้ก่อไว้ อธิบายความสำคัญของการกลับตัว หรือการเตาบะฮฺ และระบุเงื่อนไขและองค์ประกอบที่จำเป็นสำหรับผู้ที่ทำการเตาบะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาน จารง ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความที่สาธยายถึงความหมายของการตะวักกุล หรือการมอบหมายต่ออัลลอฮฺ ความสำคัญของมัน และหลักฐานต่างๆ ที่เน้นย้ำให้บรรดาผู้ศรัทธามอบหมายตนต่ออัลลอฮฺ พร้อมทั้งผลอันยิ่งใหญ่ที่จะเกิดขึ้นกับคนที่ได้มอบหมายต่ออัลลอฮฺ และกล่าวถึงข้อสังเกตบางประการที่ต้องรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงของการมอบหมายกับการยึดมูลเหตุเป็นที่ตั้ง
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความเกี่ยวกับการนิยามความสุข และมุมมองอิสลามต่อข้อเท็จจริงในเรื่องดังกล่าว เป็นการหยิบยกตัวอย่างความสุขในรูปแบบต่างๆ ที่ถูกกล่าวถึงในอัลกุรอานและหะดีษ จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ผู้เีขียนได้อธิบายถึงความสำคัญของการอดทน อันเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้มุสลิมฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ ในโลกดุนยานี้ เพื่อทำการภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งพระองค์จะประทานผลตอบแทนเป็นสวนสวรรค์ในโลกอาคิเราะฮฺ
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน
บ่อยครั้งที่เรามักจะได้ยินคำว่า “ตักวา” ได้ยินบ่อยจนชาชินโดยไม่มีความรู้สึกใดๆ ต่อคำๆนี้อีก ความคุ้นชินทำให้เราไม่ได้รับประโยชน์อะไรเลย ทั้งๆ ที่ไม่ควรจะเป็นเช่นนั้น เพราะความหมายที่แท้จริงของคำว่า“ตักวา” มีนัยยะอันทรงพลังยิ่งใหญ่มากในชีวิตของมนุษย์ผู้หนึ่งที่ศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้า และประชาชาติมุสลิมทั้งหมดที่น้อมรับการศรัทธาต่อพระองค์
- ไทย ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงภาวะแห่งความรู้สึกปลอดภัยจากการลงโทษของอัลลอฮฺ ซึ่งนำไปสู่การหลงลืมและกระทำสิ่งที่ผิดโดยไม่แยแส รวมทั้งอธิบายภาวะความสิ้นหวังจากเมตตาของอัลลอฮฺ โดยอธิบายผ่านหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอาน หะดีษ และคำพูดของบรรดาอุละมาอ์ ซึ่งสองภาวะนี้ถือว่าอันตรายทั้งสิ้น บ่าวจึงจำเป็นจะต้องให้มีความสมดุลระหว่างความกลัวและความหวังที่มีต่ออัลลอฮฺ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป็นเมตตาของอัลลอฮฺอย่างหนึ่ง คือการที่พระองค์ทรงทำให้ทุกสิ่งที่มาประสบกับมุสลิมในโลกดุนยานี้ทั้งที่เป็นโรคภัยหรืออื่นๆ นั้นเป็นการลบล้างความผิดต่างๆ ของเขาด้วย ดังนั้นทุกอย่างที่มาประสบของมุสลิม เมื่อเขาอดทนกับมัน สำหรับเขาแล้วมันคือสิ่งที่ดีที่มาจากอัลลอฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอดทนมีสถานภาพยิ่งใหญ่ในศาสนา เพราะเรื่องศาสนาทั้งหมดนั้นยืนอยู่ได้ด้วยความอดทน คือการอดทนในการเชื่อฟังอัลลอฮฺ และอดทนไม่ทำสิ่งที่เป็นข้อห้ามของอัลลอฮฺ และอดทนต่อกำหนดสภาวะการณ์ต่างๆของอัลลอฮฺ และผู้ที่อดทนนั้น คือผู้ได้กำไร เพราะเขาเชื่อฟังอัลลอฮฺ และหวังผลบุญจากพระองค์ และเพราะความหวาดกลัวและความโกรธแค้นนั้นไม่สามารถเปลี่ยนกำหนดใดๆ ได้ หากแต่มันจะกลับกลายเป็นโทษแก่เจ้าของมันเอง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การกลัวอัลลอฮฺเป็นอิบาดะฮฺทางใจที่ยิ่งใหญ่ อันจะเกิดขึ้นไม่ได้นอกจากจะออกมาจากผู้ศรัทธาที่มีความศรัทธาอย่างจริงใจเท่านั้น ด้วยเหตุนี้มันจึงมีสถานะภาพที่สูงส่งและมีความประเสริฐอย่างยิ่ง และความกลัวที่น่าสรรเสริญอันนี้คือสิ่งที่จะผลักดันให้เจ้าของมันทำความดีต่างๆ และคอยยับยั้งเขาไม่ให้ทำสิ่งต้องห้ามต่างๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความโปรดปรานที่ประเสริฐที่สุดประการหนึ่งซึ่งอัลลอฮฺได้ทรงประทานแก่บ่าวของพระองค์คือสติปัญญา หากมนุษย์ไร้ซึ่งสติปัญญา เขาก็คงไม่รู้จักอิสลาม ไม่ศรัทธาต่อบรรดานบี ไม่สามารถแยกแยะความดีความชั่ว และความจริงความเท็จได้ บทความนี้อธิบายความสำคัญของสติปัญญา และข้อสังเกตต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญญาในทัศนะอิสลาม โดยอิงจากหลักฐานในอัลกุรอาน หะดีษและคำพูดของบรรดาอุละมาอ์ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความอิจฉา คือ ความไม่อยากเห็นสิ่งดีงามเกิดขึ้นกับผู้อื่น และหวังให้มันมลายสิ้นไป มันเป็นลักษณะที่น่ารังเกียจที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามเอาไว้เพราะมันเป็นบ่อเกิดความเสียหายในระหว่างมุสลิม และเกิดความไม่พอใจต่อกัน และยังเป็นเหตุให้เกิดการทำร้ายกันได้ และท่านรสูล ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกอีกว่า การหวังอยากมีเหมือนคนอื่นเพื่อจะได้แข่งขันทำความดีในเรื่องศาสนานั้นไม่ถือเป็นการอิจฉาที่น่าตำหนิ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอดทนต่อทุกข์ภัยและหวังในการตอบแทนที่ต้องพบกับความทุกข์นั้นเป็นตัวชี้วัดถึงความเข้มแข็งของการศรัทธา และมันเป็นเหตุให้ได้รับพระเมตตาของอัลลอฮฺ และให้มีบั้นปลายชีวิตที่ดี ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสุลุลลอฮฺจึงหันหน้าสู่ความอดทนยามประสบทุกข์ภัย และสอนให้ประชาชาติของท่านให้กล่าวดุอาอ์ในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทลงโทษที่เลวร้ายที่สุดอย่างหนึ่งคือ การที่คนเราจบชีวิตไปอย่างเลวร้าย ตายขณะทำสิ่งที่ไม่ดี แล้วเขาก็ต้องฟื้นขึ้นมาในสภาพนั้น ฉะนั้น คนมุสลิมเองก็อย่าได้หลงระเริงกับสิ่งที่ตนเองเป็น แต่ให้เขาขอดุอาอฺต่ออัลลอฮฺให้มีวาระสุดท้ายที่ดี และให้เขายืนหยัดบนทางอันถูกต้องเที่ยงตรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การพูดถึงความตาย และสิ่งที่อยู่หลังความตายมีผลต่อการปรับปรุงจิตใจตนเอง และกระตุ้นให้เกิดการสะสมเสบียงเพื่อกาลข้างหน้า และลดการหมกมุ่นในโลกดุนยานี้ ด้วยเหตุนี้เองท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)จึงส่งเสริมให้พูดถึงความตายให้มากๆ และท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)เองก็ได้ห้ามการที่มุสลิมจะอยากตายเพียงเพราะมีทุกข์ภัยมาประสบ เพราะคนเราไม่รู้หรอกว่า การมีชีวิตอยู่ต่อหรือการตายจะดีกว่า แต่ให้ขอต่ออัลลอฮฺให้ทรงกำหนดสิ่งที่ดีกว่าแก่ตัวเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม