- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
การอบรมบุตร
จำนวนเนื้อหา: 10
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่ถูกเรียกร้องให้มีในทุกเรื่อง และเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องใช้มันในการปฏิบัติต่อลูกๆ และในการอบรมสั่งสอนพวกเขา จะได้ไม่บ่มเพาะความไม่พอใจ หรือความเกลียดชังกันในระหว่างพวกเขา ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงไม่ยอมเป็นสักขีพยานในการบริจาคของคนที่ไม่ให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ และเรียกมันว่า ความไม่เป็นธรรม และท่านใช้ให้มีความยุติธรรมต่อลูกๆ และบรรดาสะลัฟเองพวกเขาก็ชอบให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ ของพวกเขา แม้กระทั่งในเรื่องการหอมลูกก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ประการหนึ่งในเรื่องที่พ่อแม่หลายๆคนปล่อยปละละเลยคือ การสอนสั่ง ชี้แนะ และให้คำตักเตือนลูกๆของพวกเขา ไม่ใช่ใช้แต่วิธีรุนแรง หรือตวาดกับความผิดพลาดของพวกเขา แต่ให้เริ่มด้วยกับการแสดงความมุ่งหวังและความเป็นห่วงกังวลต่อพวกเขา เพราะเป็นทางที่จะได้รับการยอมรับที่ดีที่สุด และไม่ควรปล่อยปละละเลยพวกเขาโดยอ้างว่าพวกเขาเด็กอยู่ยังไม่เข้าใจ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
วิธีการสอนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดประการหนึ่งคือ การอบรมสั่งสอนโดยการเป็นแบบอย่างที่ดี โดยการให้พวกเขาได้เห็นลักษณะที่น่าชื่นชมที่เราต้องการสั่งสอนพวกเขา อยู่ในตัวพ่อแม่และคนรอบข้างพวกเขา และเมื่อเราต้องการเห็นเขาพูดความจริง เราก็อย่าไปโกหกเขา และเช่นกันอนุญาตให้เด็กเล็กได้เล่นสนุกสนานที่เป็นที่อนุมัติได้บ้าง เพราะจิตใจของพวกเขายังไม่ชินกับการเอาจริงเอาจัง จึงควรอนุญาตให้พวกเขาได้มีการสนุกสนาน โดยให้อยู่ในการดูแลและการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในการปฏิบัติต่อเด็กๆ นั้น ท่านเป็นตัวอย่างที่ดีในการอบรมเลี้ยงดูเด็กๆ ของพวกเรา และเราต้องปฏิบัติต่อลูกๆ หลานๆ ของพวกเรา เหมือนกันที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ปฏิบัติกับลูกๆ ของบรรดาเศาะหาบะฮฺ และเราได้เห็น เช่น การหยอกล้อกับเด็กๆ การให้เกียรติพวกเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลูกๆ นั้น เป็นความรับผิดชอบที่อยู่บนภาระรับผิดชอบของบิดาของพวกเขา และการอบรมบ่มนิสัยก็เป็นหน้าที่รับผิดชอบของเขา พวกเขาคือความรับผิดชอบของเขา และเขาจะถูกสอบถามถึงหน้าที่รับผิดชอบนั้น เป็นเรื่องจำเป็นที่เขาจะต้องคอยตักเตือนพวกเขา และต้องคอยสร้างคอยปรับ ต้องคอยสั่งสอนพวกเขาให้เป็นไปตามที่อัลลอฮฺทรงประสงค์ มันเป็นหน้าที่ที่เขาต้องทำ เป็นภาระต้นๆ ของเขา และไม่ใช่เพียงแค่การหาอาหาร เครื่องดื่ม และเสื้อผ้าให้ แล้วก็ยุ่งกับงานดุนยาจนปล่อยปละละเลยพวกเขา และหากเขาทำเช่นนั้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว เขาจะต้องมานั่งโศกเศร้าเสียใจในดุนยาเมื่อพวกเขาโตขึ้นมา และในวันอาคิเราะฮฺเมื่อเขาถูกถามถึงเหตุที่ปล่อยปะละเลยหน้าที่รับผิดชอบต่อพวกเขานั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : มุนีร มุฮัมมัด ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
จิตสำนึกเป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกซึ่งเกี่ยวข้องกับหน้าที่ ภาระรับผิดชอบ และการทำงาน บทความนี้กล่าวถึงจิตสำนึกบางประการที่เป็นผลมาจากอะมัลต่างๆ ที่มุสลิมได้ปฏิบัติในเดือนเราะมะฎอน อาทิ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความอดทน เศรษฐกิจพอเพียง การช่วยเหลือเกื้อกูล การให้อภัยซึ่งกัน ต้นฉบับจากเว็บอิสลามมอร์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลูกๆ นั้น เป็นผลผลิตที่ออกมาจากหัวใจ และเป็นเครื่องประดับของชีวิตในโลกนี้ และการสูญเสียพวกเขาเป็นทุกข์ภัยอันใหญ่หลวงต่อคนเป็นพ่อเป็นแม่ ด้วยเหตุนี้เองการอดทนในเรื่องนี้นั้นจึงเป็นผลบุญอย่างมหาศาล และอัลลอฮฺทรงสัญญาในเรื่องนี้ว่าจะมีรางวัลให้อย่างมากมายอันเป็นความเมตตาและความโปรดปรานจากพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาน จารง ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงคำแนะนำจากอัลกุรอานและแนวทางของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรหลานให้เป็นคนดี ตามเจตนารมณ์ที่อิสลามต้องการ เป็นข้อคิดบางประการที่ผู้ปกครองและพ่อแม่จะต้องเรียนรู้และนำไปใช้ ซึ่งเป็นหน้าที่สำคัญที่จะช่วยให้ลูกรอดพ้นจากการเป็นชาวนรก โดยเฉพาะในสภาวะของโลกปัจจุบัน
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อับดุลลอฮฺ อัดดุวัยชฺ แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี
บทความที่ยกตัวอย่างวิธีการสอนของท่านนบี ศ็อลลัลอฮฺอะลัยฮิวะซัลลัม ในการปลูกฝังและอบรมเศาะหาบะฮฺของท่าน อันได้แก่ 1. การสอนด้วยการเล่าเรื่องราวต่างๆ 2. การสอนด้วยการให้ข้อตักเตือน 3. ผสมผสานระหว่างการให้ขวัญกำลังใจและการขู่สำทับ 4. การโน้มน้าวจิตใจ 5. ใช้การสนทนาและการโต้ตอบ 6. ใช้ความเกรี้ยวกราดและการลงโทษ 7. ใช้การตัดความสัมพันธ์(บอยคอต) 8. การให้คำแนะนำโดยทางอ้อม 9. ใช้เหตุการณ์และโอกาสต่างๆให้เกิดประโยชน์ 10. การให้กำลังใจและการกล่าวชมเชย
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเลี้ยงลูกให้เป็นคนดีถือว่าเป็นความหวังของพ่อแม่เกือบทุกคน เชื่อเหลือเกินว่าไม่มีพ่อแม่คนใดที่อยากเห็นลูกเป็นคนชั่ว โดยเฉพาะถ้าเป็นมุสลิมผู้ศรัทธาด้วยแล้ว ย่อมต้องหวังอยากเห็นบุตรหลานเป็นคนดีกันทั้งสิ้น แล้วจะเลี้ยงลูกอย่างไรให้เป็นผู้ศรัทธา? ในบทความมีคำตอบบางประการสำหรับคำถามนี้