- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
ความประเสริฐของอัคลาก
จำนวนเนื้อหา: 34
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ทุกภาษา
- ความประเสริฐของอัคลาก
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
์บทความเกี่ยวกับ "อุปนิสัยที่ดี และอุปนิสัยของท่านนบี ศ็อลลัลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม" จากหนังสือ “มุคตะศ็อรฺ อัล-ฟิกฮิล อิสลามีย์” โดย เชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม บิน อับดุลลอฮฺ อัต-ตุวัยญิรีย์ แปลโดย สุกรี นูร จงรักสัตย์.
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บิดามารดานั้นมีสิทธิ์อันยิ่งใหญ่ต่อคนเรา อัลลอฮฺได้ทรงกล่าวไว้คู่กันกับสิทธิของอัลลอฮฺอันเป็นมูลเหตุให้อัลลอฮฺทรงสร้างญินและมนุษย์ขึ้นมา นั่นก็คือ การทำอิบาดะฮฺต่อพระองค์ และทรงสั่งใช้ให้ประพฤติดีและทำดีต่อท่านทั้งสอง นั่นก็เพราะบิดามารดา ต้องเผชิญกับความยากลำบากอย่างยิ่ง –โดยเฉพาะมารดา- ในการอบรมเลี้ยงดูและเอาใจใส่ลูกๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะหกาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การมีมารยาทดี ทั้งพูดจาดี ปฏิบัติดีกับผู้อื่น อดทนและคอยช่วยเหลือผู้อื่น หรืออื่นๆที่ถือเป็นมารยาทอันน่ายกย่องนั้น มีสถานะยิ่งใหญ่ในศาสนาอิสลาม ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้กระทำมัน และบอกว่ามันเป็นการงานที่ประเสริฐที่สุดที่จะใช้ในการใกล้ชิดกับอัลลอฮฺ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นั้นได้บรรลุขั้นสูงสุดของการมีมารยาทดี โดยที่อัลลอฮฺได้ทรงยืนยันรับรองเรื่องนี้ไว้ แม้กระทั้งกับคนที่เกลียดท่านเมื่อมาพบเจอท่าน ไม่ทันไร ก็จะเปลี่ยนเป็นรักท่านมากที่สุด ก็ด้วยเพราะมารยาทอันดีงามของท่านนั่นเอง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายความหมายของการมีคุณลักษณะนิสัยที่ดี ความสำคัญและความประเสริฐของมัน โดยยกหลักฐานจากอัลกุรอาน หะดีษ และตัวอย่างจากกัลยาณชนรุ่นแรก อาศัยการอธิบายที่เรียบง่าย กระชับ แต่แฝงด้วยเนื้อหาที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่ง เหมาะแก่การใช้สำหรับตักเตือนในโอกาสต่างๆ ได้
- ไทย แปล : อุสมัน สามะ (อุษมาน อับดุศศอมัด) ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
ถ้อยคำตักเตือนที่ทรงคุณค่าว่าด้วยการการทำความดีต่อบิดามารดา และห้ามอกตัญญูและเนรคุณต่อทั้งสอง ใช้สำนวนภาษาที่ง่าย พร้อมด้วยหลักฐานจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ ยกตัวอย่างจากเรื่องราวในอดีตบางตัวอย่างประกอบด้วย
- ไทย ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในสามสิบบทเรียนอิสลามสำหรับเยาวชนและผู้เริ่มต้น ด้วยวิธีการอธิบายที่ง่ายๆ และพร้อมด้วยหลักฐาน.
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในอิสลามเพื่อนบ้านนั้นมีสิทธิที่ต้องได้รับ อัลลอฮฺทรงกำชับใช้ในเรื่องเพื่อนบ้าน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็สั่งเสียในเรื่องเพื่อนบ้านเช่นกันและท่านได้กำหนดให้การทำดีต่อเพื่อนบ้านนั้นคือส่วนหนึ่งของการมีอีมานที่สมบูรณ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อิสลามส่งเสริมให้เชื่อมสัมพันธ์เครือญาติ และให้สร้างความสนิทสนมต่อกัน และห้ามการตัดขาดและการหันหลังให้กัน หรือสิ่งใดๆที่จะชักนำผู้คนไปสู่สิ่งต่างๆเหล่านี้ และเพราะอย่างนี้อัลลอฮฺจึงทรงใช้ให้เชื่อมสัมพันธ์เครือญาติ และเตือนไม่ให้ตัดขาดมัน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เองก็ได้กำชับใช้และส่งเสริมในเรื่องนี้ และบอกว่ามันคือสาเหตุที่ทำให้อายุยืนและมีริสกีกว้างขวาง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงมุมมองและคำสอนของอิสลามว่าด้วยความเกียจคร้าน ซึ่งเป็นนิสัยที่อิสลามห้าม โดยมีหลักฐานระบุในเรื่องดังกล่าวจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ รวมทั้งคำพูดจากบรรดาอุละมาอ์ ในบทความยังกล่าวถึงประเภทของความเกียจคร้านและวิธีการขจัดนิสัยที่ไม่น่าพึงประสงค์นี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การนินทาเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ และเป็นหนึ่งในบาปที่แพร่หลายในระหว่างผู้คนมากที่สุด อีกทั้งพวกเขาก็มักง่าย และพากันละเลยไม่แสดงการรังเกียจ ทั้งที่มันเป็นสาเหตุก่อความเป็นศัตรูต่อกัน และทำลายความเป็นปึกแผ่นของพวกเขา และเพราะความน่ารังเกียจของการนินทา อัลลอฮฺทรงเปรียบคนนินทาว่าเหมือนกับคนที่กินศพพี่น้องของเขา และบทลงโทษของคนนินทาในโลกหลุมศพคือเขาจะฉีกหน้าฉีกอกของเขาด้วยกรงเล็บที่ทำจากทองแดง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย
กล่าวถึงความเมตตาของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ต่อผู้อ่อนแอ และใครคือผู้อ่อนแอที่แท้จริง และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำตัวอย่างเอาไว้อย่างไรบ้างในการให้ความสำคัญและดูแลเอาใจใส่บรรดาผู้อ่อนแอเหล่านั้น ต้นฉบับเดิมจาก http://www.rasoulallah.net/index.php/ar/articles/article/14561
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การยิ้มให้พี่น้องของท่านเป็นหนทางที่ง่ายที่สุดที่จะเข้าถึงหัวใจของเขาและช่วยขจัดความริษยาหรือความรู้สึกอื่น ๆ ที่เขามีต่อท่านได้ และด้วยเหตุนี้เองท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ชี้แนะสีหน้าของมุสลิมมีรอยยิ้มที่ฉายไปยังพี่น้องมุสลิมของเขา และการยิ้มของเขานั้นก็เป็นเศาะดะเกาะฮฺของเขาด้วย และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เองก็ยิ้มอย่างมากมายให้กับบรรดาเศาะหาบะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ศาสนาของชาวมุสลิมเป็นศาสนาที่ดำรงอยู่บนความเมตตา พระผู้อภิบาลของพวกเขาก็เมตตาต่อพวกเขา นบีของพวกเขาก็เมตตาต่อพวกเขา และอัลลอฮฺทรงกล่าวถึงลักษณะของพวกเขาไว้ว่าพวกเขานั้นมีเมตตาต่อกัน และคุณธรรมของความเมตตานั้นเป็นคุณธรรมที่น่ายกย่องที่อัลลอฮฺรัก และทรงบอกผ่านทางท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ว่า ผู้ที่มีเมตตาเท่านั้นที่จะเมตตาต่อบ่าวของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความอ่อนโยน รอบคอบและไม่วู่วามเป็นลักษณะที่อัลลอฮฺทรงรัก และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้กระทำ และมันเป็นเหตุนำสิ่งที่ดีๆให้เข้ามา เพราะเป็นการทำให้ความเมตตา อาทรและความอ่อนโยนแพร่หลายในระหว่างพี่น้องมุสลิม ส่วนความโหดร้าย กักขระ และความรุนแรงเป็นกริยามารยาทอันน่าตำหนิที่อัลลอฮฺทรงกริ้ว ศาสนาอิสลามห้ามปรามไว้ และสมควรที่มุสลิมจะห่างไกลกับมัน เพราะเป็นสิ่งที่เกิดจากความผยองลำพองตน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความละอายเป็นมารยาทที่เกิดขึ้นมาเพื่อให้อยากละทิ้งสิ่งที่ทำให้จิตใจแปดเปื้อน มันมาจากการมีศรัทธา เพราะมันจะชวนให้ทำดีและให้ห่างจากสิ่งน่ารังเกียจ และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า มันทั้งหมดเป็นสิ่งดีงาม และนำมาแต่สิ่งที่ดีงาม และท่านนบีเอง ก็เป็นผู้ที่มีความละอายอย่างมาก และความละอายที่ประเสริฐที่สุดคือความละอายต่ออัลลอฮฺ อายที่พระองค์จะเห็นท่านทำสิ่งที่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อะมานะฮฺเป็นเรื่องใหญ่ อัลลอฮฺทรงให้ใช้รักษา ทำตาม และดูแลอะมานะฮฺ และทรงชมเชยคนที่มีอะมานะฮฺ และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า ไม่มีศาสนา สำหรับคนไม่มีอะมานะฮฺ และการปล่อยให้มันสูญหายไปเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาณของกาลอวสาน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การรักเพื่ออัลลอฮฺ คือการที่ท่านรักคนๆหนึ่งเพราะเขาเป็นบ่าวคนที่เชื่อฟังอัลลอฮฺ และความรักที่มีต่อเขานั่นก็จะพูนขึ้นตามเมื่อการเชื่อฟังอัลลอฮฺของเขาเพิ่มขึ้นด้วย และความรักแบบนี้นั้นเป็นหนึ่งในอะมัลที่ดีที่สุด เพราะมันเกิดขึ้นไม่ได้นอกจากจะต้องมีความบริสุทธิ์ใจจริงๆต่ออัลลอฮฺเท่านั้น ปราศจากเป้าหมายใดๆในดุนยา และรางวัลตอบแทนของเขาคือความรักของอัลลอฮฺจะบังเกิดแก่เขา และพระองค์จะให้เขาได้อยู่ใต้ร่มเงาของพระองค์ในวันกิยามะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การโกรธนั้นเป็นมารยาทที่น่าตำหนิ โดยมากแล้วจะดึงเจ้าของมันให้ทำในสิ่งที่เขาไม่อยากทำ มันมาจากชัยฏอน ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงสั่งเสียให้ห่างไกลจากมัน และชี้แนะให้ลดขอบเขตของมันยามเมื่อตกอยู่ในความโกรธ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลักษณะที่น่ารังเกียจประการหนึ่ง ซึ่งอัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ได้ห้ามไว้ก็คือ การลำพองตนและหลงระเริงกับชีวิตในดุนยา บทความนี้อธิบายประเภทต่างๆ ของความลำพอง อาทิ การลำพองของผู้ปฏิเสธศรัทธา การลำพองของผู้ศรัทธาที่ฝ่าฝืน การลำพองของผู้ที่ทำชั่วมากกว่าความดี รวมทั้งอธิบายสรุปประเภทของคนเกี่ยวกับความลำพอง คือ คนที่ลำพองตนกับชีวิตในดุนยาจนกระทั่งเสียชีวิต และคนที่ลำพองตนกับการทำความดีของตนเองซึ่งเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับความอิคลาศและบริสุทธิ์ใจ เป็นบทความจากหนังสือ อัด-ดุรอรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายความสำคัญของอะมานะฮฺ เป็นคุณลักษณะที่อัลลอฮฺได้มอบให้กับบรรดานบี และยังเป็นคุณลักษณะของผู้ศรัทธาที่แท้จริง มีหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและหะดีษที่ได้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว รวมทั้งเรียกร้องเชิญชวนและสนับสนุนให้มนุษย์มีอะมานะฮฺในทุกๆ กิจการที่เขาเกี่ยวข้อง จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์