- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
บทความ
จำนวนเนื้อหา: 858
- ไทย
- ไทย สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
คัมภีร์อัลกุรอานคืออะไร?
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน
บทรําลึกที่กล่าวในยามเช้าและยามเย็น
- ไทย
หลักการถือศีลอด : เเผ่นผับภาษาไทย , ผู้ประพันธ์ดร.ฮัยซัม ซัรฮาน , กล่าวถึงประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการถือศีลอดทั้งภาคบังคับเเละส่งเสริมให้กระทำ , เเละการถือศีลอดที่มิควรปฏิบัติ , ตลอดจนการถือศีลอดในกรณีเป็นที่ต้องห้าม , พร้อมหยิบยกหลักเกณฑ์ต่างๆในด้านบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายซากาตฟิตรฺเเละการละหมาดอีด.
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : ฟัยซอล อับดุลฮาดี ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความหมายของซะกาตทางภาษาและวิชาการ ตอบโดยชัยคฺมุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน เป็นฟัตวาส่วนหนึ่งจากหนังสือ “ฟิกฮฺ อัล-อิบาดาต” โดยชัยคฺมุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน
- ไทย นักเขียน : อับดุลร็อซซาก บิน อับดุลมุห์สิน อัล-อับบาด อัล-บัดรฺ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มีปรากฏหลักฐานในอัลกุรอานจำนวนมากที่กำชับใช้ให้มีการขออภัยโทษ ส่งเสริม กระตุ้น และอธิบายถึงผลที่ได้รับ รวมถึงร่องรอยของมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่เสร็จสิ้นจากการเคารพภักดี และหลังจากที่ได้ประกอบอิบาดะฮฺอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และเป็นที่ประจักษ์ว่าส่วนหนึ่งจากจริยวัตรของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านจะปิดท้ายการประกอบคุณงามความดีด้วยการขออภัยโทษ (อิสติฆฟารฺ)
- ไทย นักเขียน : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เราะมะฎอน คือโอกาสที่ดีสำหรับผู้ศรัทธาที่จะคืนดีกับอัลกุรอาน ด้วยการอ่าน ตะดับบุร และศึกษาความหมาย รวมทั้งการนำมันมาใช้ในชีวิตประจำวัน เพราะหากไม่ใช่เดือนนี้แล้วก็คงเป็นเรื่องที่ไม่ใช่ง่ายอย่างแน่นอน ดังนั้น เรามาคืนดีกับอัลกุรอานกันเถิด ด้วยการอ่านอัลกุรอานให้จบเล่มอย่างน้อยหนึ่งครั้งในเดือนนี้
- ไทย นักเขียน : อับดุลอะซีซ บิน อับดุลลอฮฺ บิน บาซ แปล : อัฟนาน เพ็ชรทองคำ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความที่กล่าวอธิบายเกี่ยวกับคืนอิสรออ์มิอฺรอจญ์ และเครื่องหมายต่างๆ ที่ปรากฏขึ้นในคืนนั้นเป็นหลักฐานยืนยันความสัจจริงของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และยังได้พูดถึงข้อชี้ขาดของการเฉลิมฉลองรวมถึงบิดอะฮฺหรืออุตริกรรมทางศาสนาที่มีการจัดขึ้นในคืนนี้
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุริยุปราคา และจันทรุปราคาเป็นหนึ่งในสัญญานของอัลลอฮฺที่พระองค์ทรงทำให้บ่าวเกิดความวิตกหวาดกลัว และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บัญญัติว่าเมื่อเกิดอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นจากทั้งสองให้รีบไปสู่การละหมาด สู่การรำลึก และการขออภัยโทษ และอ้อนวอนขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺจนกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะคลายไป เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงบัญญัติหลักปฏิบัติหลายประการสำหรับการละหมาดสุนัต แตกต่างจากละหมาดฟัรฎูเพื่อทำให้เกิดความสะดวกและเป็นการผ่อนปรนให้บ่าวของพระองค์ อาทิ อนุญาตให้ละหมาดบนพาหนะได้ ถึงแม้มันไม่ได้หันไปทางกิบละฮฺก็ตาม ซึ่งในละหมาดฟัรฎูจะทำอย่างนั้นไม่ได้ และอนุญาตให้นั่งละหมาดสุนัตได้แม้ไม่มีสาเหตุสุดวิสัยก็ตามเป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การละหมาดเป็นเรื่องที่ดีที่สุด และเป็นหนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่บ่าวจะใช้มันเพื่อใกล้ชิดกับพระผู้อภิบาลของเขา ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกกล่าวว่า การทำละหมาดมากๆ นั้นเป็นเหตุให้ได้เข้าสวรรค์ และท่านได้ใช้ให้ผู้ชายละหมาดสุนัตหรือละหมาดที่ไม่ใช่ฟัรฎูในบ้านของเขา เพราะเป็นการทำความดีแบบลับๆ และเป็นการสอนครอบครัว และทำให้พวกเขาเคยชินกับการละหมาด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุนนะฮฺประการหนึ่งของท่านเราะสุลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม คือให้ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเบาๆ ไม่ยาว และท่านก็อ่านสูเราะฮฺสั้น ๆ บางบทเป็นการเฉพาะ หรือเพียงไม่กี่อายะฮฺสั้น ๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ละหมาดสุนัตฟัจญ์รฺเป็นอิบาดะฮฺอันประเสริฐที่ท่านนบีรักษามันไว้ และสนับสนุนเศาะหาบะฮฺให้ทำมัน และกล่าวถึงมันว่า –เพราะมันมีผลตอบแทนอันยิ่งใหญ่- ดีกว่าดุนยาและสิ่งทั้งหมดในนั้น และเมื่อท่านเห็นผู้ใดละหมาดสุนัตหลังละหมาดฟัจญ์รฺ ท่านจะแสดงความรังเกียจ แต่พอทราบว่าเป็นการละหมาดชดใช้สุนัตฟัจญ์รฺ ท่านก็นิ่งและยอมรับในเรื่องดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำแบบอย่างให้ละหมาดสุนนะฮฺก่อนและหลังละหมาดฟัรฎู และท่านก็ได้ทำมันอย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุนให้รักษามัน และด้วยเหตุนี้จึงเรียกว่าเป็น สุนัตเราะวาติบ(ละหมาดสุนัตที่ทำเป็นประจำ) ดังนั้น มุสลิมควรเอาใจใส่และรักษามันไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ในอิสลามเพื่อนบ้านนั้นมีสิทธิที่ต้องได้รับ อัลลอฮฺทรงกำชับใช้ในเรื่องเพื่อนบ้าน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ก็สั่งเสียในเรื่องเพื่อนบ้านเช่นกันและท่านได้กำหนดให้การทำดีต่อเพื่อนบ้านนั้นคือส่วนหนึ่งของการมีอีมานที่สมบูรณ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อิสลามส่งเสริมให้เชื่อมสัมพันธ์เครือญาติ และให้สร้างความสนิทสนมต่อกัน และห้ามการตัดขาดและการหันหลังให้กัน หรือสิ่งใดๆที่จะชักนำผู้คนไปสู่สิ่งต่างๆเหล่านี้ และเพราะอย่างนี้อัลลอฮฺจึงทรงใช้ให้เชื่อมสัมพันธ์เครือญาติ และเตือนไม่ให้ตัดขาดมัน และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม เองก็ได้กำชับใช้และส่งเสริมในเรื่องนี้ และบอกว่ามันคือสาเหตุที่ทำให้อายุยืนและมีริสกีกว้างขวาง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สมควรอย่างยิ่งสำหรับผู้ศรัทธาที่จะต้องมีความตื่นตัวและรีบเร่งทำความดี เพราะชีวิตของคนเราช่างสั้นนัก และความตายนั้นก็อยู่ใกล้แค่เอื้อม ไม่มีผู้ใดสามารถที่จะล่วงรู้ได้เลยว่าความตายจะมาเยือนเขาเมื่อใด บทความนี้ยกตัวอย่างเรื่องราวจากอดีต หลักฐานสนับสนุนจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ รวมถึงระบุตัวอย่างผลดีต่างๆ ในการเร่งทำความดีก่อนจะหมดโอกาส
- ไทย นักเขียน : อิบบรอเฮง อาลฮูเซน ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อสงสัยที่อาจจะมีการตั้งคำถามว่า ทำไมประเทศที่มิใช่อิสลามจึงมีความเจริญมากกว่า ซึ่งมีนัยให้คิดตามมาว่า ถ้าเป็นอย่างนั้นแล้ว อิสลามเป็นศาสนาที่ถูกต้องจริงหรือเปล่า และอิสลามเป็นศาสนาของพระเจ้าจริงหรือไม่? บทความนี้ได้นำเสนอคำตอบต่อข้อสงสัยเหล่านี้ไว้แล้ว
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงกำหนดให้ทั้งชายและหญิงมีธรรมชาติอันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัว ทรงกำหนดภารกิจที่เหมาะสมกับแต่ละฝ่าย และทรงเตรียมความพร้อมให้แต่ละฝ่ายสามารถปฏิบัติภารกิจของตนให้ลุล่วงได้ แต่การทำตัวหลุดไปจากธรรมชาติที่พระผู้ทรงรอบรู้ทรงชำนาญสร้างขึ้นมานั้นเป็นเหตุสร้างความเสียหายอย่างกว้างขวางบนหน้าแผ่นดิน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สตรีมุสลิมถูกใช้ให้ปกปิดร่างกายของนางจากผู้ชายที่ไม่ใช่มะห์ร็อม เพราะการเปิดเผยและเปลือยนั้นมีผลเสียอย่างใหญ่หลวง ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงผ่อนปรนให้ปล่อยชายผ้าให้ยาวและลากพื้นได้เพื่อต้องการให้ปกปิดเท้าของนาง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม