- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
บทความ
จำนวนเนื้อหา: 858
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การนุ่งผ้าลากยาวเพราะความลำพองตนหรือเพื่อโอ้อวดเป็นบาปใหญ่ที่อัลลอฮฺขู่จะลงโทษอย่างรุนแรงในวันกิยามะฮฺ ดังนั้นจึงควรที่มุสลิมจะระมัดระวังและพยายามหลีกให้ห่างไกล เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ถือเป็นเรื่องน่ารังเกียจที่คนหลายๆคนมักจะสะเพร่าคือ นุ่งชายผ้าต่ำกว่าตาตุ่มทั้งที่มีรายงานขู่จะลงโทษอย่างรุนแรงกับผู้ที่กระทำมัน และถือว่ามันเป็นบาปใหญ่ที่มุสลิมควรหลีกให้ห่างไกลและต้องคอยเตือนให้ระวังมัน และที่เป็นสุนนะฮฺคือ การที่มุอ์มินสวมเสื้อผ้าที่อยู่ระหว่างตาตุ่มถึงครึ่งหน้าแข้ง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การดื่มจากภาชนะทองและเงินนั้นเป็นที่ต้องห้าม เพราะมีคำสั่งห้ามของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม และท่านยังบอกถึงคำขู่ที่รุนแรงแก่ผู้กระทำมันด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ห้ามการที่คนๆหนึ่งจะดื่มขณะที่เขายืนอยู่ แต่ท่านเองจะยืนดื่มเมื่อมีความจำเป็น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ห้ามหายใจรดลงในเครื่องดื่มขณะดื่ม และก็ห้ามเป่าใส่ภาชนะด้วย เพราะมีผลไม่เสียต่อสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นการทำให้เกิดความสกปรกแก่ผู้ที่ประสงค์จะดื่มมัน และท่านได้แนะนำให้ผู้ที่มีแมลงวันตกลงไปในเครื่องดื่มของเขาให้จุ่มแมลงวันลงไปทั้งตัว แล้วจึงค่อยเอามันออกไป เพราะที่ปีกข้างหนึ่งของมันมีเชื้อโรค แต่อีกข้างมียารักษา การเจือปนปิกทั้งสองในน้ำเป็นหักล้างฤทธิ์ของเชื้อโรคด้วยอนุมัติของอัลลอฮฺ และไม่จำเป็นถึงกับต้องเทเครื่องดื่มทิ้งไป เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
โทษของการฝ่าฝืนและการทำชั่วนั้นรุนแรงและน่ากลัวทั้งในดุนยาและอาคิเราะฮฺและบาปความชั่วที่เลวร้ายที่สุด ก็คือการทำชั่วอย่างเปิดเผย ซึ่งหมายถึงการที่คนคนหนึ่งประพฤติชั่วต่อหน้าสาธารณชน หรืออาจกระทำในที่ลับซึ่งอัลลอฮฺได้ทรงช่วยปกปิดการกระทำของเขาไว้ แต่ทว่าเขาเองกลับบอกเล่าการกระทำต่าง ๆ ของเขาให้ผู้อื่นได้รับรู้ จึงถือเป็นการเพิกเฉยไม่เห็นค่าการปกปิดของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายและสรุปบทเรียนจากสูเราะฮฺ อัล-อะห์ซาบ อายะฮฺที่ 36 เป็นการตอกย้ำคำสั่งให้เชื่อฟัง เมื่ออัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ได้บัญญัติหรือกำหนดสิ่งใดแล้ว ก็ไม่มีผู้ใดสามารถขัดขืนหรือแสวงหาทางเลือกอื่นได้ และจะไม่มีความคิดเห็นหรือคำพูดใด ๆ มาตีเสมอเทียบเคียงได้เป็นอันขาด พร้อมทั้งยกตัวอย่างเรื่องราวของท่าน ญุลัยบีบ เราะฎิยัลลอฮุ อันฮฺ ในเรื่องดังกล่าวนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
โอวาทเนื่องในเดือนเราะบีอุลเอาวัล ซึ่งจะได้แจกแจงว่าในเดือนนี้มีสิ่งใดที่มุสลิมต้องปฏิบัติเป็นพิเศษหรือไม่? รวมถึงอุตริกรรมต่างๆ ที่กระทำกันในเดือนนี้ โดยจะเริ่มด้วยการทำความรู้จักกับเดือนนี้อย่างพอสังเขป รวมทั้งอธิบายข้อสังเกตเกี่ยวกับการจัดงานเมาลิด และวิธีการแสดงความรักที่ถูกต้องอย่างแท้จริงต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
- ไทย นักเขียน : อะหมัด อับดุรเราะหฺมาน อัลกอฎี แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความที่อธิบายมุมมองของอิสลามเกี่ยวกับการเฉลิมฉลองปีใหม่สากล ว่าเป็นเทศกาลรื่นเริงของต่างศาสนิกที่ไม่อนุญาตให้มุสลิมเข้าร่วม เนื่องจากเป็นการลอกเลียนแบบที่ทำลายอัตลักษณ์ทางด้านศาสนาของผู้ศรัทธา และเป็นพฤติกรรมที่สวนทางกับความเชื่อและบทบัญญัติของอิสลามอย่างชัดเจน
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มารยาทในการรับประทานอาหาร
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การหาวนั้นส่งผลให้เกิดความมึนงงและเกียจคร้าน มาจากชัยฏอน มุสลิมจึงต้องพยายามกลั้นเอาไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะหากทำอย่างนี้แล้วชัยฏอนจะโมโหเจ็บใจ แต่หากมุสลิมปล่อยให้หาวออกมาเสียงดัง ชัยฏอนก็จะหัวเราะใส่เขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สำหรับการจามนั้นมีมารยาทและสุนนะฮฺที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม กำหนดเอาไว้ จึงสมควรที่มุสลิมจะมีมารยาทเหล่านี้ติดตัวเพราะจะได้รับความดีอย่างมากมาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายหะดีษต่างๆ ว่าด้วยการเตือนให้ชดใช้หนี้สิน และภัยจากการไม่ยอมใช้หนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้ต้องรับโทษในสุสานและถูกกักกันไม่ให้เข้าสวรรค์ในวันกิยามะฮฺ รวมทั้งแนะนำข้อปฏิบัติต่างๆ สำหรับเจ้าหนี้และลูกหนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป้าหมายของสูเราะฮฺฮูด เป็นการตอกย้ำให้ทำหน้าที่ฟื้นฟูปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง โดยไม่บันดาลโทสะหรือสิ้นหวัง สูเราะฮฺนี้และสูเราะฮฺยูนุสก่อนหน้านี้ และสูเราะฮฺยูสุฟที่จะมาหลังจากนี้ คือสามสูเราะฮฺแรกที่เป็นชื่อบรรดานบี ซึ่งทุกชื่อสูเราะฮฺที่ใช้ชื่อนบีนั้น ก็จะเป็นที่เข้าใจว่าเรื่องราวของนบีคนนั้นคือเนื้อหาแก่นหลักของสูเราะฮฺ และในตอนท้ายของสูเราะฮฺก็จะมีอายะฮฺที่เป็นบทสรุปของเรื่องราวนั้นๆ จนดูประหนึ่งว่ามันเป็นกฎ (กออิดะฮฺ) ของทุกสูเราะฮฺที่ใช้ชื่อบรรดานบีเป็นชื่อสูเราะฮฺ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายหะดีษ “อิสลามคือนะศีหะฮฺ” ผู้เขียนได้อธิบายและจำแนกประเภทต่างๆ ของการตักเตือน รวมทั้งประโยชน์อันมากมาย และสิ่งที่เงื่อนไขหรือมารยาทในการตักเตือน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงมุมมองและคำสอนของอิสลามว่าด้วยความเกียจคร้าน ซึ่งเป็นนิสัยที่อิสลามห้าม โดยมีหลักฐานระบุในเรื่องดังกล่าวจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ รวมทั้งคำพูดจากบรรดาอุละมาอ์ ในบทความยังกล่าวถึงประเภทของความเกียจคร้านและวิธีการขจัดนิสัยที่ไม่น่าพึงประสงค์นี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เลือดเนื้อและชีวิตของมุสลิม ณ ที่อัลลอฮฺ เป็นของต้องห้ามอย่างยิ่ง และด้วยเหตุนี้ สำหรับอัลลอฮฺแล้วการให้ดุนยาสลายไปยังเบากว่าการสังหารผู้ที่เป็นมุอ์มิน และผู้ใดได้สังหารเพียงชีวิตเดียวก็เสมือนว่าเขาได้สังหารมนุษยชาติทั้งมวล และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม นับว่าการสังหารชีวิตที่อัลลอฮฺทรงห้ามไว้-นอกจากด้วยความชอบธรรม-ถือเป็นบาปใหญ่ที่ก่อความหายนะ เพื่อจะได้เตือนผู้คนทั้งหลายไม่ให้มักง่ายสะเพร่าในเรื่องนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอธรรมนั้น ภัยอันตรายของมันใหญ่หลวง ปั้นปลายของมันเลวร้าย นั่นคือความมืดมนนานาประการแก่ของเจ้าของมันในวันอาคิเราะฮฺ และเป็นสาเหตุให้อัลลอฮฺจัดการและเอาคืนเขาอย่างสาสมรุนแรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การอธรรมเป็นหนึ่งในลักษณะที่น่ารังเกียจที่สุดที่เกิดจากคนที่เหย่อหยิ่งจองหองหลงลืมความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ และลืมการลงโทษที่รุนแรงของพระองค์ อัลลอฮฺทรงทำให้มันเป็นที่ต้องห้ามกับพระองค์เองด้วยเพราะความยุติธรรมอันสมบูรณ์ของพระองค์ และทำให้มันเป็นที่ต้องห้ามในระหว่างบ่าวของพระองค์ และทรงขู่ด้วยการลงโทษที่รุนแรงเอาไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
มุสลิมจะถูกสอบถามถึงสิ่งที่เขาพูดด้วยว่าจะถูกตอบแทนรางวัลหรือจะถูกเอาผิด เพราะเหตุนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามคำบางคำไม่ให้พูด และในบางคำท่านก็ได้ชี้แนะคำอื่นให้พูดแทน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม