- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
บทความ
จำนวนเนื้อหา: 858
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทกลอนบทกวีนั้น ส่วนดีของมันก็คือสิ่งดี ส่วนเลวร้ายก็คือสิ่งเลวร้าย และหากเป็นการเผยแพร่สิ่งดี หรือสนับสนุนให้มีคุณธรรมจริยธรรมอันดีงามก็ควรได้รับการชมเชยและส่งเสริม แต่หากเป็นการด่าทอมุสลิม ดูถูกดูแคลนพวกเขา หรือชวนให้ฝ่าฝืนคำสั่งหรือให้ปฏิบัติตนไม่ดี ก็ควรได้รับการตำหนิ และเป็นสิ่งที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺเตือนให้ระวัง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย
ตักเตือนสะกิดใจถึงผลเสียของโซเชียลมีเดีย ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องมีการพูดถึงมารยาทและข้อควรปฏิบัติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้ และตระหนักถึงข้อดีข้อเสียของมัน เพราะผู้ที่ใช้สื่อเหล่านี้โดยที่ไม่มีความตระหนักในเรื่องดังกล่าว ย่อมไม่ต่างอะไรกับผู้ที่ล่องเรือลำเล็กกลางมหาสมุทรที่เต็มไปด้วยคลื่นใหญ่ ซึ่งก็คงไม่อาจจะทัดทานได้ไหว และอาจจมหายหรือถูกคลื่นซัดพังได้ไม่ยาก
- ไทย แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
กฏสิบข้อที่ได้จากการใคร่ครวญอายะฮฺที่ 17-19 จากสูเราะฮฺ อัน-นัมล เป็นเรื่องราวของมดในยุคท่านนบีสุลัยมาน อะลัยฮิสสลาม ทั้งสิบข้อนั้นคือ การเห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนรวม, การมั่นใจในตัวเอง, ความรับผิดชอบ, ความคิดริเริ่ม, ลงมือทำ, นำเสนอทางออก, มองการณ์ไกล, ตื่นตัว, มองโลกในแง่ดี, การยิ้ม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การยุยงให้คนอื่นทะเลาะกันหรือการยุแยงตะแคงรั่วเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ มีความหมายคือ การนำเอาคำพูดไปบอกต่อคนอื่นๆโดยมีเจตนาร้าย การเที่ยวเดินโพนทะนานั้นถือเป็นสาเหตุใหญ่ที่สุดที่ทำให้เกิดการตัดขาดกันระหว่างผู้คน ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนให้ระวัง และบอกกล่าวถึงบทลงโทษที่รุนแรงกับผู้ที่กระทำการนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การสาปแช่ง คือ การขับไล่และการทำให้อยู่ห่างไกลจากเมตตาของอัลลอฮฺ และการสาปแช่งคนใดเป็นการเฉพาะเป็นเรื่องอันตราย เพราะการสาปแช่งหากผู้ที่ถูกกล่าวถึงไม่สมควรได้รับมัน มันก็จะกลับไปหาคนที่แช่งมันแทน หลายคนมักจะเลินเล่อในการสาปแช่ง และเป็นเรื่องที่ต้องแสดงการรังเกียจ และเตือนให้ระวัง และไม่มักง่ายกับมัน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การนินทาเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ และเป็นหนึ่งในบาปที่แพร่หลายในระหว่างผู้คนมากที่สุด อีกทั้งพวกเขาก็มักง่าย และพากันละเลยไม่แสดงการรังเกียจ ทั้งที่มันเป็นสาเหตุก่อความเป็นศัตรูต่อกัน และทำลายความเป็นปึกแผ่นของพวกเขา และเพราะความน่ารังเกียจของการนินทา อัลลอฮฺทรงเปรียบคนนินทาว่าเหมือนกับคนที่กินศพพี่น้องของเขา และบทลงโทษของคนนินทาในโลกหลุมศพคือเขาจะฉีกหน้าฉีกอกของเขาด้วยกรงเล็บที่ทำจากทองแดง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเป็นพยานเท็จ หรือเป็นพยานโกหก ถือเป็นบาปที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้เตือนประชาชาติของท่าน เพราะมันรวมเอาทั้งการโกหกที่ถือเป็นลักษณะที่น่ารังเกียจที่สุด และทั้งสิ่งที่เป็นเหตุให้มุสลิมต้องสูญเสียสิทธิไป ด้วยเหตุนี้ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงนับเรื่องนี้เป็นหนึ่งในบาปใหญ่ที่ใหญ่ที่สุด และท่านเองทำให้ท่านสะเทือนอารมณ์มากขณะที่ท่านกล่าวเตือนบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่าน จนกระทั้งพวกเขาพากันเป็นห่วงท่าน –ขอความพึงพอพระทัยจงมีแด่พวกท่านทั้งหลายด้วยเถิด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การสาบานต่ออัลลอฮฺนั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ อัลลอฮฺทรงให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ เพราะมันเป็นเครื่องมือทางกฎหมายประการหนึ่งที่ใช้รับรองหรือปฏิเสธสิทธิ์ต่างๆ ได้ การสาบานเท็จจึงอาจทำให้คนเราต้องสูญเสียกรรมสิทธิ์ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการหมิ่นเดชานุภาพของอัลลอฮฺผู้ทรงสูงส่งอีกด้วย ด้วยเหตุนี้บทลงโทษสำหรับผู้ที่โกหกในเรื่องนี้จึงเป็นบทลงโทษที่สาหัสรุนแรง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความว่าด้วยข้อปฏิบัติเมื่อได้ยินเสียงอะซาน เช่น การตอบรับอะซาน, เตรียมความพร้อมเพื่อละหมาดที่มัสญิด, อาบน้ำละหมาดที่บ้าน, ไปมัสญิดด้วยใจที่สงบนิ่งและไม่รีบเร่ง, มารยาทเมื่อเข้ามัสญิด, และเข้าแถวแรก พร้อมด้วยหลักฐานประกอบจากหะดีษ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ฟารีด พุกมะหะหมัด ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายความหมายของตาชั่งที่อัลลอฮฺจะใช้ในการชำระสอบสวนมนุษย์ในวันกิยามะฮฺ ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์จะต้องศรัทธา รวมทั้งกล่าวถึงผลดีต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากการศรัทธาดังกล่าว เช่น การมุ่งมั่นทำความดี การรักษาความดีงามต่างๆ จากสาเหตุที่จะทำให้มันสูญเสียและบกพร่อง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
กล่าวถึงความเมตตาของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ต่อผู้อ่อนแอ และใครคือผู้อ่อนแอที่แท้จริง และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ทำตัวอย่างเอาไว้อย่างไรบ้างในการให้ความสำคัญและดูแลเอาใจใส่บรรดาผู้อ่อนแอเหล่านั้น ต้นฉบับเดิมจาก http://www.rasoulallah.net/index.php/ar/articles/article/14561
- ไทย
บทความเกริ่นนำว่าด้วยความเมตตาของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กับชาวมุสลิม ตามที่ปรากฏและยืนยันโดยอัลกุรอาน และตามที่ระบุในหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เอง ต้นฉบับเดิมจาก http://www.rasoulallah.net/index.php/ar/articles/article/14559
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่ถูกเรียกร้องให้มีในทุกเรื่อง และเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องใช้มันในการปฏิบัติต่อลูกๆ และในการอบรมสั่งสอนพวกเขา จะได้ไม่บ่มเพาะความไม่พอใจ หรือความเกลียดชังกันในระหว่างพวกเขา ด้วยเหตุนี้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม จึงไม่ยอมเป็นสักขีพยานในการบริจาคของคนที่ไม่ให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ และเรียกมันว่า ความไม่เป็นธรรม และท่านใช้ให้มีความยุติธรรมต่อลูกๆ และบรรดาสะลัฟเองพวกเขาก็ชอบให้ความเป็นธรรมในระหว่างลูกๆ ของพวกเขา แม้กระทั่งในเรื่องการหอมลูกก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ประการหนึ่งในเรื่องที่พ่อแม่หลายๆคนปล่อยปละละเลยคือ การสอนสั่ง ชี้แนะ และให้คำตักเตือนลูกๆของพวกเขา ไม่ใช่ใช้แต่วิธีรุนแรง หรือตวาดกับความผิดพลาดของพวกเขา แต่ให้เริ่มด้วยกับการแสดงความมุ่งหวังและความเป็นห่วงกังวลต่อพวกเขา เพราะเป็นทางที่จะได้รับการยอมรับที่ดีที่สุด และไม่ควรปล่อยปละละเลยพวกเขาโดยอ้างว่าพวกเขาเด็กอยู่ยังไม่เข้าใจ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
วิธีการสอนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดประการหนึ่งคือ การอบรมสั่งสอนโดยการเป็นแบบอย่างที่ดี โดยการให้พวกเขาได้เห็นลักษณะที่น่าชื่นชมที่เราต้องการสั่งสอนพวกเขา อยู่ในตัวพ่อแม่และคนรอบข้างพวกเขา และเมื่อเราต้องการเห็นเขาพูดความจริง เราก็อย่าไปโกหกเขา และเช่นกันอนุญาตให้เด็กเล็กได้เล่นสนุกสนานที่เป็นที่อนุมัติได้บ้าง เพราะจิตใจของพวกเขายังไม่ชินกับการเอาจริงเอาจัง จึงควรอนุญาตให้พวกเขาได้มีการสนุกสนาน โดยให้อยู่ในการดูแลและการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ในการปฏิบัติต่อเด็กๆ นั้น ท่านเป็นตัวอย่างที่ดีในการอบรมเลี้ยงดูเด็กๆ ของพวกเรา และเราต้องปฏิบัติต่อลูกๆ หลานๆ ของพวกเรา เหมือนกันที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ปฏิบัติกับลูกๆ ของบรรดาเศาะหาบะฮฺ และเราได้เห็น เช่น การหยอกล้อกับเด็กๆ การให้เกียรติพวกเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลูกๆ นั้น เป็นความรับผิดชอบที่อยู่บนภาระรับผิดชอบของบิดาของพวกเขา และการอบรมบ่มนิสัยก็เป็นหน้าที่รับผิดชอบของเขา พวกเขาคือความรับผิดชอบของเขา และเขาจะถูกสอบถามถึงหน้าที่รับผิดชอบนั้น เป็นเรื่องจำเป็นที่เขาจะต้องคอยตักเตือนพวกเขา และต้องคอยสร้างคอยปรับ ต้องคอยสั่งสอนพวกเขาให้เป็นไปตามที่อัลลอฮฺทรงประสงค์ มันเป็นหน้าที่ที่เขาต้องทำ เป็นภาระต้นๆ ของเขา และไม่ใช่เพียงแค่การหาอาหาร เครื่องดื่ม และเสื้อผ้าให้ แล้วก็ยุ่งกับงานดุนยาจนปล่อยปละละเลยพวกเขา และหากเขาทำเช่นนั้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว เขาจะต้องมานั่งโศกเศร้าเสียใจในดุนยาเมื่อพวกเขาโตขึ้นมา และในวันอาคิเราะฮฺเมื่อเขาถูกถามถึงเหตุที่ปล่อยปะละเลยหน้าที่รับผิดชอบต่อพวกเขานั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หัจญ์มับรูรนั้นคือหัจญ์ที่สมบูรณ์แบบ ปราศจากสิ่งที่ทำให้ผลบุญบกพร่อง มันเป็นงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นที่รักของอัลลอฮฺมากที่สุด เพราะในนั้นมีการแสดงความเป็นบ่าวของมนุษย์ต่ออัลลอฮฺในหลากหลายรูปแบบ อัลลอฮฺทรงสัญญาว่าจะตอบแทนรางวัลอย่างใหญ่หลวง และจะทรงให้อภัยต่อบาปต่างๆ จนกระทั่ง มุสลิมผู้ทำหัจญ์กลับภูมิลำเนาไปในสภาพขาวสะอาดปราศจากบาปเหมือนกับตอนที่แม่เขาเพิ่งจะคลอดเขาออกมา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า หัจญ์ของทารกน้อยคนนั้นใช้ได้ และคนที่พาเขาไปทำหัจญ์ก็ได้รับผลบุญด้วย เช่นเดียวกันนั้น ท่านก็ได้ห้ามผู้หญิงไม่ให้เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อมไปด้วย ถึงแม้ว่าออกไปเพื่อทำหัจญ์ก็ตาม และใช้ให้ผู้ชายพักสงครามและการญิฮาด และให้ออกไปกับภรรยาของเขาที่จะไปทำหัจญ์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สิบวันของซุลหิจญะฮฺนั้นประเสริฐกว่าวันอื่นตลอดทั้งปี ณ ที่ของอัลลอฮฺ และการทำความดีในช่วงดังกล่าวนั้นถือเป็นการงานที่อัลลอฮฺทรงรักมากที่สุด และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ได้กำหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะเชือดกุรบาน ไม่ให้ตัดสิ่งใดจากเส้นขนหรือเล็บออก จนกว่าเขาจะเชือดกุรบานของเขาเสียก่อน เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม ต้นฉบับเดิมจาก http://IslamHouse.com/78415