- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
ตัฟสีรอัลกุรอาน
จำนวนเนื้อหา: 41
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
เป้าหมายของสูเราะฮฺฮูด เป็นการตอกย้ำให้ทำหน้าที่ฟื้นฟูปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง โดยไม่บันดาลโทสะหรือสิ้นหวัง สูเราะฮฺนี้และสูเราะฮฺยูนุสก่อนหน้านี้ และสูเราะฮฺยูสุฟที่จะมาหลังจากนี้ คือสามสูเราะฮฺแรกที่เป็นชื่อบรรดานบี ซึ่งทุกชื่อสูเราะฮฺที่ใช้ชื่อนบีนั้น ก็จะเป็นที่เข้าใจว่าเรื่องราวของนบีคนนั้นคือเนื้อหาแก่นหลักของสูเราะฮฺ และในตอนท้ายของสูเราะฮฺก็จะมีอายะฮฺที่เป็นบทสรุปของเรื่องราวนั้นๆ จนดูประหนึ่งว่ามันเป็นกฎ (กออิดะฮฺ) ของทุกสูเราะฮฺที่ใช้ชื่อบรรดานบีเป็นชื่อสูเราะฮฺ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายอายะฮฺอัลกุรอานจากสูเราะฮฺ อัฏ-ฏูร อายะฮฺที่ 21 ว่าด้วยการที่อัลลอฮฺทรงมอบรางวัลพิเศษให้กับชาวสวรรค์ ด้วยการให้ลูกหลานที่ศรัทธาของพวกเขาได้มาอยู่ร่วมกับพวกเขาอีกครั้งหนึ่งในสวรรค์ ถึงแม้ว่าลูกหลานของพวกเขาจะมีภาคผลบุญไม่มากเหมือนพวกเขาก็ตาม จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
วิเคราะห์สาระสำคัญของสูเราะฮฺ ยูนุส ที่ได้มุ่งเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการสำคัญของความเชื่อแห่งศาสนาอิสลาม(อุศูล อัล-อะกีดะฮฺ อัล-อิสลามียะฮฺ) นั่นคือ การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ การศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์ การศรัทธาต่อบรรดาศาสนทูต การศรัทธาต่อวันแห่งการฟื้นคืนชีพและวันแห่งการตอบแทน โดยเฉพาะการศรัทธาต่ออัล-เกาะฎออ์และอัล-เกาะดัรฺ หรือบันทึกกฎสภาวะต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เป็นการยืนยันถึงแก่นแท้ของการศรัทธาในความเอกะของอัลลอฮฺ ญัลละวะอะลา และการศรัทธาต่ออัล-เกาะฎออ์และอัล-เกาะดัรฺ ในรูปแบบต่างๆ บางครั้งก็มาในรูปแบบของเรื่องราวของบรรดานบี และบางครั้งก็มาในรูปแบบของการย้ำเตือนให้มนุษย์รำลึกถึงเดชานุภาพของอัลลอฮฺ ความปรีชาของพระองค์ และความยุติธรรมของพระองค์ในการบริหารสรรพสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่
- ไทย
วิเคราะห์สาระสำคัญของสูเราะฮฺ อัต-เตาบะฮฺ ที่ได้เปิดเผยธาตุแท้ของพวกปฏิเสธศรัทธา พวกมุนาฟิกูนผู้กลับกลอก และพวกที่หันหลังให้กับศาสนา รวมถึงพฤติกรรมต่างๆ ของพวกเขา เป็นเนื้อหาของอัลกุรอานส่วนสุดท้ายที่ถูกประทานลงมาแก่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และถือเป็นข้อเรียกร้องสุดท้ายที่มีต่อมนุษย์ทุกคน ซึ่งหลังจากที่อัลลอฮฺได้เปิดเผยถึงพฤติกรรมของพวกปฏิเสธศรัทธา พวกมุนาฟิกูนผู้กลับกลอก และผู้ที่หันหลังให้กับศาสนา พระองค์ก็ยังได้เตือนสติผู้ศรัทธาทุกคนถึงความจำเป็นที่ต้องให้พวกเขาได้รับรู้ว่าประตูแห่งการกลับเนื้อกลับตัว(เตาบะฮฺ)นั้นเปิดอยู่เสมอ ซึ่งจำเป็นที่พวกเขาต้องรีบเร่งกลับเนื้อกลับตัวก่อนที่จะเกิดความหายนะ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายโองการ 69 จากสูเราะฮฺ อัน-นิสาอ์ ซึ่งกล่าวถึง อานิสงค์ของการที่มุสลิมมีความรักที่บริสุทธิ์ใจต่อคนดีมีคุณธรรม ถึงแม้ว่าตัวเขาเองจะได้มีคุณสมบัติแห่งความดีเทียบเท่าบรรดาคนดีเหล่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : สัลมาน บิน อุมัร อัส-สุนัยดีย์ แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายความหมายของคำว่า ตะดับบุรฺ (การใคร่ครวญ) ตามที่ปรากฏในอัลกุรอาน ทั้งความหมายในด้านภาษาและในด้านวิชาการตามทัศนะของอุละมาอ์นักอรรถาธิบายอัลกุรอาน รวมถึงศัพท์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตะดับบุรฺ
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายโองการ 123-126 จากสูเราะฮฺ ฏอฮา ซึ่งกล่าวถึงสภาพของชีวิตอันผาสุกที่ได้รับการชี้นำจากอัลลอฮฺด้วยการปฏิบัติตามโองการต่างๆ ของพระองค์ กับอีกชีวิตหนึ่งที่ผลักไสทางนำของพระองค์จึงทำให้ต้องตกอยู่ในความมืดบอดทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงบทเรียนต่างๆ จากอายะฮฺที่ 38 ในสูเราะฮฺ อัล-อันอาม เกี่ยวกับความยุติธรรมของอัลลอฮฺ ความรอบรู้ของพระองค์ แม้กระทั่งกับบรรดาสัตว์เดรัจฉานหรือนกชนิดต่างๆ พระองค์เป็นผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งเหล่านี้และเป็นผู้ให้ริสกีเครื่องปัจจัยยังชีพแก่พวกมันทั้งหมดไม่ต่างไปจากมนุษย์ พระองค์จึงคู่ควรที่สุดแล้วที่เราจำเป็นต้องมอบหมายต่อพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายเป้าหมายของสูเราะฮฺ อัล-อันฟาล คือการอธิบายกฎเกณฑ์แห่งชัยชนะ ต้องมีทั้งด้าน ร็อบบานียะฮฺ(เงื่อนไขด้านการศรัทธาเชื่อมั่น) และด้าน มาดดียะฮฺ (เงื่อนไขทางด้านวัตถุปัจจัย) สูเราะฮฺอัล-อันฟาล เป็นสูเราะฮฺมะดะนียะฮฺ ซึ่งถูกประทานลงมาหลังจากเกิดสงครามบะดัรฺ โดยถือเป็นสงครามแรกในประวัติศาสตร์อิสลามอันรุ่งโรจน์ และถือเป็นชัยชนะแรกของกองทัพแห่งพระผู้เป็นเจ้าผู้ได้ชื่อว่า อัร-เราะหฺมาน กระทั่งเศาะหาบะฮฺบางท่านได้ตั้งชื่อสูเราะฮฺนี้ว่า “สูเราะฮฺบะดัร” และอัลลอฮฺ ตะอาลา ได้ตั้งชื่อสูเราะฮฺนี้ในอัลกุรอานว่า “อัลฟุรกอน” เนื่องจากสูเราะฮฺนี้มีการกล่าวถึงเหตุการณ์นี้อย่างยืดยาว และยังมีการนำเสนอแบบแผนของการทำสงครามอย่างละเอียด พร้อมทั้งยังมีการชี้แจงถึงความจำเป็นที่มุสลิมต้องเป็นวีรบุรุษ และมีจุดยืนต่อความเท็จด้วยความกล้าหาญชาญชัยและยืนหยัดอย่างมั่นคง
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายเป้าหมายของสูเราะฮฺ อัล-อะอฺรอฟ คือการย้ำให้มนุษย์เข้มแข็งในจุดยืนและไม่เป็นคนที่เหลาะแหละหรือเป็นคนในแง่ลบ สูเราะฮฺอัล-อะอฺรอฟ เป็นหนึ่งในสูเราะฮฺมักกียะฮฺที่มีเนื้อหายืดยาวที่สุด และถือเป็นสูเราะฮฺแรกที่นำเสนอเรื่องราวของบรรดานบีอย่างละเอียด เริ่มตั้งแต่เรื่องราวการสร้างนบีอาดัม อะลัยฮิสลาม จนถึงช่วงสุดท้ายของการสร้าง ตามด้วยเรื่องราวของท่านนบีนูหฺ ท่านนบีฮูด ท่านนบีศอลิหฺ ท่านนบีลูฏ ท่านนบีชุอัยบฺ ท่านนบีมูซา และท่านนบีมุหัมมัดของเรา ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
วิเคราะห์ข้อคิดจากอายะฮฺดังกล่าว เช่น การยืนยันถึงความสุขสบายในโลกหลังความตาย การส่งเสริมสนับสนุนญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ สถานะอันยิ่งใหญ่ของญิฮาด การปลอบใจญาติผู้เสียชีวิตในหนทางของอัลลอฮฺ และยืนยันว่าผลบุญดังกล่าวเฉพาะผู้ที่มีเจตนาถูกต้องในการญิฮาดเพื่อเชิดชูสารแห่งอัลลอฮฺเท่านั้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
วิเคราะห์บทเรียนจากอัลกุรอาน สูเราะฮฺ อัล-กะฮ์ฟฺ อายะฮฺที่ 28 กล่าวถึงความประเสริฐของการรำลึกถึงอัลลอฮฺและการเป็นเพื่อนกับคนดี หลีกเลี่ยงการคบหากับคนชั่ว เนื่องจากเป็นสิ่งที่ส่งอิทธิพลในชีวิตของคนคนหนึ่งอย่างมากทีเดียว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
- ไทย นักเขียน : บินติ ฮารูน ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความตักเตือนและสะกิดใจให้สำนึกถึงความสำคัญของการใคร่ครวญ ต่อโองการต่างๆ ที่อัลลอฮฺได้ประทานมาให้กับมนุษย์ เพื่อที่พวกเขาจะได้ตระหนักรู้และใช้ชีวิตด้วยความเข้าใจ ไม่ลุ่มหลงไปกับความเพริศแพร้วในโลกนี้จนลืมนึกถึงชีวิตแห่งความนิรันดรในโลกหน้า
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายเป้าหมายของสูเราะฮฺ อัล-มาอิดะฮฺ ประมวลเนื้อหาตั้งแต่การเริ่มต้นจนถึงการจบท้ายสูเราะฮฺด้วยกับคำมั่นสัญญาต่างๆ ที่อัลลอฮฺได้มีบัญชาแก่บรรดาผู้ศรัทธา และการให้ความสำคัญในการรักษามัน และได้ยกตัวอย่างกรณีของชาวคัมภีร์ก่อนหน้านี้ที่ได้ละเมิดสัญญาของพระเจ้า ในสูเราะฮฺนี้ยังได้ระบุถึงการรักษาเป้าประสงค์พื้นฐานทั้งห้าประการของบทบัญญัติอิสลามไว้ด้วย.
- ไทย นักเขียน : ฟุอาด ซัยดาน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายเป้าหมายของสูเราะฮฺ อัน-นิสาอ์ เป้าหมายของ “สูเราะฮฺ อัน-นิสาอ์” นั้นคือ การผดุงความยุติธรรมและความเมตตาแก่บรรดาผู้ที่อ่อนแอทั้งหลาย หลังจากที่สูเราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺได้กำหนดวิถีทางที่จำเป็นแก่ผู้ที่อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงคัดเลือกให้เขาเป็นตัวแทนบนหน้าแผ่นดินนี้ต้องปฏิบัติตาม และสูเราะฮฺอาลิ อิมรอนก็ได้ให้การเน้นย้ำในประเด็นของการยืนหยัดบนวิถีทางดังกล่าว การมาของสูเราะฮฺอัน-นิสาอ์นั้นเป็นการบ่งชี้แก่เราว่าการผดุงความยุติธรรมและความเมตตาแก่บรรดาผู้ที่อ่อนแอทั้งหลายนั้นถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดในการดำเนินตามวิถีทางนี้
- ไทย
อธิบายเป้าหมายของสูเราะฮฺ อาล อิมรอน เป้าหมายของ “สูเราะฮฺ อาล อิมรอน” นั้นคือ การยืนหยัดอย่างมั่นคง ซึ่งภายหลังจากอัลลอฮฺ ตะอาลา ได้นำเสนอถึงวิถีทางที่จำเป็นต้องดำเนินตามในสูเราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺแล้วนั้น สูเราะฮฺอาล อิมรอนก็ได้ตามมาเพื่อเป็นการบ่งชี้แก่เราซึ่งแนวทางที่จะช่วยให้เรายืนหยัดบนวิถีทางดังกล่าว ไม่ว่าเราจะเพิ่งเริ่มต้นดำเนินบนวิถีทางที่ว่าหรือเคยดำเนินมาก่อนหน้านี้แล้ว สำหรับผู้ศรัทธาแล้วทุกคนก็ต่างต้องการที่จะยืนหยัดอยู่บนวิถีทางนี้ เพื่อที่ว่าพวกเขาจะได้ไม่เพี่ยงพล้ำ และไม่มีความกริ่งเกรงว่าพวกเขาจะหันเหหรือหลงทางได้อีก
- ไทย
อธิบายเป้าหมายของสูเราะฮฺ อัล-บะเกาะเราะฮฺ ซึ่งเป็นสูเราะฮฺที่ยาวที่สุดในอัลกุรอาน เป็นสูเราะฮฺอันยิ่งใหญ่ที่กล่าวถึงภาระหน้าที่ของมนุษย์ นั่นคือการเป็นผู้ดูแลโลก ซึ่งประกอบด้วยแนวทางที่ชัดเจนในการทำหน้าที่ดังกล่าว พร้อมทั้งตัวอย่างของทั้งผู้ที่ประสบความสำเร็จและผู้ที่ล้มเหลวในการทำหน้าที่นี้ และยังได้ระบุถึงรายละเอียดปลึกย่อยต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน เป็นการแสดงถึงความสมบูรณ์ของอิสลาม ศาสนาที่มีแนวทางอันครอบคลุมและทรงพลังในการปฏิรูปและพัฒนาสังคมโลกตามกรอบที่พระผู้เป็นเจ้าทรงโปรดปราน
- ไทย นักเขียน : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งบทใคร่ครวญกับอายะฮฺ โอ้บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย จงอย่ากล่าวว่า “รออินา” แต่จงกล่าวว่า “อุนซุรนา” เป็นโองการที่กล่าวถึงมารยาทต่อท่านนบี และห้ามเลียนแบบชาวยิวที่เล่นลิ้นด่าทอท่าน
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : รีมา เพชรทองคำ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
หนึ่งบททบทวนกับสูเราะฮฺ อัล-มาอูน กล่าวถึงบทเรียนที่สำคัญจากสูเราะฮฺ อัล-มาอูน เกี่ยวกับบุคลิกไม่พึงประสงค์ที่จำเป็นต้องหลีกเลี่ยง อาทิ การตระหนี่ขี้เหนียว การละเลยจากการละหมาด การโอ้อวดในการทำความดี จากหนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-มุลกอฮฺ โดย ดร. อะมีน อัช-ชะกอวีย์