- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
จำนวนเนื้อหา: 6
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ทุกภาษา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดย เชค มุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์ ประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ อาทิ ความหมายของการฟ้องร้อง องค์ประกอบของการฟ้องร้อง เงื่อนไขของการฟ้องร้องที่ถูกต้องสมบูรณ์ ลักษณะการตัดสินของผู้พิพากษา ลักษณะการตัดสินกับบุคคลที่ไม่ได้อยู่ต่อหน้า จะทำการฟ้องร้องที่ไหน บทบัญญัติว่าด้วยสาส์นจากผู้พิพากษาถึงผู้พิพากษา บทบัญญัติว่าด้วยผู้ถูกฟ้อง เป็นต้น
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดย เชค มุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์ อธิบายลักษณะวิธีการตัดสินพิพากษาคดีความของกอฎีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดย เชคมุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับมารยาทของผู้ทำหน้าที่พิพากษา สิ่งที่ผู้พิพากษาควรหลีกเลี่ยง เมื่อใดที่ผู้พิพากษาจะตัดสินด้วยสิ่งที่ตนรู้ ความประเสริฐของการสร้างสมานฉันท์ระหว่างมนุษยชาติและการเมตตาสงสารต่อพวกเขา บทบัญญัติว่าด้วยการตักเตือนคู่กรณีก่อนจะตัดสิน อันตรายที่เกิดจากการไม่ตัดสินตามบทบัญญัติแห่งอัลลอฮฺ ความแตกต่างระหว่างกอฎี (ผู้พิพากษา) และมุฟตี (ผู้ชี้ขาดปัญหาศาสนา)
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การพิพากษานั้น ประเด็นของมันคือการตัดสินเหตุการณ์ต่างๆ ของมนุษย์ ในด้านชีวิต ทรัพย์สิน และสิทธิทางด้านต่างๆ ของพวกเขา ด้วยเหตุนี้อันตรายที่เกิดจากการพิพากษาใหญ่หลวงยิ่งนัก เพราะเกรงว่าผู้พิพากษาจะเอนเอียงเข้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดของคู่กรณีพิพาท บางทีเนื่องจากเป็นญาติใกล้ชิด เป็นเพื่อนฝูง เป็นคนมีฐานะร่ำรวยโดยหวังผลประโยชน์อะไรบางอย่างงจากเขา เป็นผู้มีบารมีเพราะเกรงกลัวในอำนาจบารมีของเขา หรือจะด้วยเหตุผลในทำนองเดียวกันนี้
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การตัดสินข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างมนุษย์นับเป็นความประเสริฐอย่างใหญ่หลวงสำหรับผู้ที่สามารถกระทำได้และมั่นใจว่าตนจะไม่กระทำในสิ่งที่อยุติธรรม มันยังเป็นการแสดงถึงความใกล้ชิดต่ออัลลอฮฺมากอีกประการหนึ่ง เพราะเป็นการสร้างความสมานฉันท์ให้แก่มนุษยชาติ ให้ความยุติธรรมแก่ผู้ที่ถูกอธรรม ขจัดผู้อธรรม ใช้ในเรื่องของความดีงาม ห้ามปรามเรื่องความชั่วช้า กำหนดบทลงโทษ มอบสิทธิต่างๆ ให้แก่เจ้าของ เป็นหน้าที่ของบรรดานบี อะลัยฮิมุศศอลาตุวัสลาม
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือ มุคตะศ็อร ฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ ความหมายของเกาะฎออ์ (การพิพากษา) วิทยปัญญาของบทบัญญัติที่ให้มีการพิพากษา หุก่มหรือข้อตัดสินว่าด้วยการพิพากษา เงื่อนไขของผู้พิพากษา