- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
จำนวนเนื้อหา: 352
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ทุกภาษา
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านรซูลได้ห้ามการขอผู้อื่นโดยไม่จำเป็น เพราะมันเป็นเหตุให้จิตใจตกต่ำ ลุ่มหลงดุนยา และมัวแต่สะสมมัน และบอกว่าผู้ใดที่เคยชินกับการขอผู้อื่นจะมาในวันกิยามะฮฺที่ใบหน้าของเขาไม่มีชิ้นเนื้อใดๆ เป็นผลจากการไม่มีความอายเที่ยวแบมือขอคนในโลกดุนยานี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การบริจาคอย่างลับๆดีกว่าการบริจาคอย่างเปิดเผย เพราะห่างไกลจากการโอ้อวด และปิดบังไม่ให้ผู้รับบริจาครู้ แต่ในบางทีการบริจาคอย่างเปิดเผยประเสริฐกว่าหากมีประโยชน์ เช่น เพื่อกระตุ้นให้คนอื่นๆ บริจาค เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การบริจาคอย่างลับๆทำให้ผู้บริจาคห่างไกลจากการโอ้อวด และช่วยให้เขามีเจตนาที่บริสุทธิ์ใจเพื่ออัลลอฮฺ และการเป็นรักษาเกียรติของเขาไม่ให้ตกต่ำต่อหน้าผู้อื่น ดังนั้น ด้วยเหตุนี้อัลลอฮฺจึงทรงสนับสนุนเรื่องนี้ และท่านรซูลก็ได้สัญญากับผู้ที่บริจาคอย่างลับมากๆว่าเขาจะได้รางวัลตอบแทนอย่างใหญ่หลวงในวันกิยามะฮฺ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การบริจาคเป็นความดีงามทั้งหมด และที่ดีที่สุดคือ(บริจาค)ทั้งที่ท่านยังจำเป็นต้องใช้มันอยู่ และในขณะที่ท่านมีสุขภาพดี ไม่ใช่ตอนที่ท่านจะตายแล้ว และการบริจาคให้ผู้เป็นเครือญาติที่ยากจนดีกว่าให้คนอื่นๆ เพราะการบริจาคให้ผู้เป็นญาตินั้นได้ทั้งการบริจาค และได้ทั้งการเชื่อมสัมพันธ์เครือญาติด้วย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การบริจาคในหนทางของอัลลอฮฺ เป็นหนึ่งในสาเหตุที่ป้องกันไฟนรก และรอดพ้นจากความน่าสะพรึงกลัวของวันกิยามะฮฺ และมันเป็นหนึ่งในสิ่งที่ผลบุญของมันจะยังคงมีขึ้นให้แก่เจ้าของมันถึงแม้เขาจะตายไปแล้วก็ตาม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การบริจาคเป็นความดีงามทั้งหมด มันยังความจำเริญแก่ทรัพย์สิน และเป็นเหตุให้ได้รับริสกีปัจจัยยังชีพ และสิ่งใดที่คนเราบริจาคไปนั้นคือทรัพย์สินที่แท้จริงของเขา เพราะเขาจะพบมันในวันกิยามะฮฺ เป็นสิ่งที่เขาต้องการมันมากที่สุดแล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม ห้ามไม่ให้คนหนึ่งยกลูกสาวของเขาให้แต่งงานกับอีกฝ่ายโดยให้อีกฝ่ายยกลูกสาวของเขา หรือน้องสาวของเขาให้เขาโดยไม่มีสินสอดเฉพาะสำหรับนาง และเช่นกันห้ามผู้หญิงแต่งงานให้ตัวเองโดยไม่มีผู้ปกครอง(วะลียฺ) เพราะเป็นสิ่งที่นำแต่ความเสียหาย และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอลัยฮิวะสัลลัม สั่งเสียให้ผู้ที่จะแต่งงานให้เลือกผู้หญิงที่มีศาสนา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การบริจาค และการใช้จ่ายทรัพย์สินในทางที่ดีคือการแสดงความเชื่อฟังปฏิบัติตามที่อัลลอฮฺ และเราะซูลส่งเสริมให้กระทำ เพราะเป็นสิ่งที่สร้างประโยชน์อย่างมหาศาลแก่บ่าวของพระองค์ และอัลลอฮฺทรงทำให้มันเป็นสาเหตุที่นำมาซึ่งความจำเริญในทรัพย์สินที่ถูกจ่ายออกไป โดยที่มันจะไม่ลดน้อยลงไป และอัลลอฮฺจะทรงรับการบริจาคจาก(ทรัพย์สิน)ที่หามาโดยสุจริต(เท่านั้น) และจะทรงเพิ่มพูนมันให้แก่เจ้าของมันในวันกิยามะฮฺเป็นการตอบแทนเขา เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การถือศีลอดถูกบัญญัติให้ทำได้ทุกวัน นอกจากวันที่พระผู้ตราบัญญัติ(คืออัลลอฮฺ)ได้ยกเว้น หรือที่ศาสนาเจาะจงห้ามไม่ให้ถือศีลอดเพราะมีเหตุผลใดๆ อันสำคัญอยู่ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การถือศีลอดเป็นหนึ่งในอิบาดะฮฺที่ประเสริฐที่สุด และนับเป็นความเมตตาและความโปรดปรานจากอัลลอฮฺที่พระองค์ไม่ได้ทรงจำกัดเวลาใดเป็นการเฉพาะ แต่พระองค์ทรงบัญญัติให้บ่าวของพระองค์สามารถสมัครใจทำได้ตลอดเวลา แต่ที่ทรงกำหนดระยะเวลาหนึ่งไว้ก็เพื่อเพิ่มความประเสริฐให้กับการถือศีลอด และทำให้มันเป็นช่วงฤดูกาลเพิ่มพูนการงานที่ดี เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัลลอฮฺทรงกำหนดส่วนแบ่งมรดกไว้ในคัมภีร์ของพระองค์แล้ว และท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อธิบายอย่างกระจ่างแจ้ง ไม่ได้ปล่อยให้เป็นตามอารมณ์หรือความปรารถนาของแต่ละคน และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ห้ามละเมิดในสิ่งที่อัลลอฮฺทรงบัญญัติให้แก่บ่าวของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การร้องไห้ให้คนตายเพราะความเมตตา และความโศกเศร้านั้นเป็นเรื่องอนุญาตให้กระทำได้ อัลลอฮฺไม่ทรงถือสาเอาความตราบที่ไม่ถึงกับการตีโพยตีพาย และไม่เป็นการแสดงความขุ่นข้องหมองใจต่อกำหนดของอัลลอฮฺ ท่านนบีเองก็ร้องไห้ตอน อิบรอฮีม บุตรชายของท่านเสียชีวิตไป พร้อมกับที่ท่านเองก็มีศรัทธาและพอใจอย่างบริบูรณ์กับเกาะฎออ์และเกาะดัรฺของพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การเดินไปส่งคนตายจนถึงฝังเสร็จเป็นเรื่องที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม สนับสนุนให้ผู้ชายทำ ไม่ใช่ผู้หญิง และท่านได้บอกว่าผู้ที่ตามไปส่งคนตายเขาจะได้รางวัลที่ใหญ่โตเท่าภูเขาลูกมหึมา และท่านได้ชี้แนะถึงผู้ที่ตามไปส่งคนตายไม่ให้นั่งจนกว่าจะฝังเสร็จ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : รอชิด บิน หุเสน อัล-อับดุลการีม แปล : สะอัด วารีย์ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ลูกๆ นั้น เป็นผลผลิตที่ออกมาจากหัวใจ และเป็นเครื่องประดับของชีวิตในโลกนี้ และการสูญเสียพวกเขาเป็นทุกข์ภัยอันใหญ่หลวงต่อคนเป็นพ่อเป็นแม่ ด้วยเหตุนี้เองการอดทนในเรื่องนี้นั้นจึงเป็นผลบุญอย่างมหาศาล และอัลลอฮฺทรงสัญญาในเรื่องนี้ว่าจะมีรางวัลให้อย่างมากมายอันเป็นความเมตตาและความโปรดปรานจากพระองค์ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุรูส อัล-เยามียะฮฺ มิน อัส-สุนัน วะ อัล-อะห์กาม อัช-ชัรอียะฮฺ ของ ดร.รอชิด อัล-อับดุลกะรีม
- ไทย นักเขียน : อับดุลร็อซซาก บิน อับดุลมุห์สิน อัล-อับบาด อัล-บัดรฺ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส
แท้จริง หัจญ์เป็นโรงเรียนขัดเกลาความศรัทธาที่ยิ่งใหญ่ บรรดามุสลิมจะได้รับบทเรียนจากหัจญ์ ประโยชน์ และประสบการณ์ ในด้านต่างๆมากมายครอบคลุมทุกมิติของศาสนา ไม่ว่าจะเป็นด้านหลักศรัทธา การประกอบศาสนากิจ และความประพฤติ ฯลฯ แต่ละคนจะได้รับประโยชน์จากหัจญ์ที่แตกต่างกันไป ตามพลังความพยายามและการแสวงหาที่ดีของแต่ละคน ส่วนทางนำนั้นอยู่พระหัตถ์ของอัลลอฮฺแต่เพียงพระองค์เดียว เป็นบทความจากหนังสือบทเรียนด้านอะกีดะฮฺจากหัจญ์ ของเชคอับดุรร็อซซาก อัล-บัดรฺ
- ไทย แปล : ซุฟอัม อุษมาน แปล : รุสดี การีสา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงประเด็นต่างๆ ที่น่ารู้เกี่ยวกับดุอาอ์กุนูตในละหมาดวิติรฺ เช่น - ประเด็นที่หนึ่ง หุก่มการกุนูตในละหมาดวิติรฺ - ประเด็นที่สอง ช่วงขณะไหนที่ให้อ่านกุนูต? - ประเด็นที่สาม การเริ่มต้นกุนูตด้วยการสรรเสริญสดุดีอัลลอฮฺ - ประเด็นที่สี่ การขอดุอาอ์กุนูตด้วยเสียงที่เป็นจังหวะและท่วงทำนอง - ประเด็นที่ห้า หุก่มการเจาะจงตัวบุคคลในดุอาอ์กุนูต - ประเด็นที่หก การกล่าว อามีน ในดุอาอ์ด้วยการออกเสียงดัง - ประเด็นที่เจ็ด หุก่มการอ่านดุอาอ์เคาะตัมอัลกุรอานในการละหมาดตะรอวีหฺ - ประเด็นที่แปด การอ่านดุอาอ์กุนูตเป็นระยะเวลานาน
- ไทย นักเขียน : ฝ่ายวิชาการสำนักพิมพ์อัล-วะฏ็อน แปล : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโก๊ะ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การถือศีลอดนั้นมีคุณค่าและความประเสริฐอันใหญ่หลวงมากมาย และสำหรับผู้ถือศีลอดก็มีมารยาทบางประการที่งดงามสมควรที่จะต้องให้ความสำคัญและเอาใจใส่ เพื่อให้การถือศีลอดมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้นและงดงามยิ่งขึ้นไปอีก อาทิ การอดทน มีอะมานะฮฺ ความเมตตาเอื้อเฟื้อ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การไกล่เกลี่ยระหว่างพี่น้อง จึงขอเรียกร้องไปยังมุสลิมทุกคน ทุกประเภทอาชีพและหน้าที่มาร่วมกันฟื้นฟูมารยาทอันดีงามเหล่านี้ในเดือนเราะมะฎอน เพื่อหวังผลบุญที่ยิ่งใหญ่จากเอกองค์อัลลอฮฺ
- ไทย นักเขียน : อัดนาน นาแซ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี
สวรรค์นั้นเป็นที่พำนักแห่งความสุขอันถาวร ผู้ใดที่เข้าสวรรค์ นั่นแสดงถึงการที่คนผู้นั้นมีสิทธิอันสมควรที่จะได้รับการตอบแทนอันเหมาะสมกับตำแหน่งของเขาและการงานความดีที่เขาได้ปฏิบัติบนโลกดุนยา ซึ่งการตอบแทนนี้จะถูกเตรียมไว้สำหรับทั้งเพศชายและเพศหญิงอย่างเท่าเทียมกัน เพราะตามหลักการศาสนานั้นทั้งชายหญิงจะไม่มีความแตกต่างกันในผลบุญหรือการตอบแทนในการกระทำความดี อย่างไรก็ตามอาจจะมีข้อสงสัยในเรื่องความเหลื่อมล้ำของผลตอบแทนในสวรรค์ระหว่างผู้ชายและผู้หญิง บทความชิ้นนี้จะช่วยคลายข้อสงสัยนั้นให้คุณ
- ไทย
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : มาวัดดะห์ จะปะกียา ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งกายของผู้หญิงมุสลิม ที่หลายคนละเลยและไม่ได้ใส่ใจ ซึ่งเป็นหน้าที่ผู้นำครอบครัวจะต้องรับผิดชอบในการสอนและเตือนบรรดาสตรีที่อยู่ใต้การดูแลของเขาด้วย อธิบายหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและหะดีษ รวมถึงความเห็นของนักวิชาการเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์