- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
จำนวนเนื้อหา: 352
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ทุกภาษา
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัฟนาน เพ็ชรทองคำ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อัล-ค็อมรฺ หรือสุรานั้นถือเป็นตัวการสำคัญของความชั่วร้ายทั้งปวง เป็นกุญแจสู่ความเสียหายและความเสื่อมเสียทั้งนี้ อัล-ค็อมรฺ ยังมีความหมายรวมไปถึงสิ่งเสพติดทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น กัญชา โคเคน ฝิ่น เฮโรอีน หรือยาเม็ดต่างๆ ที่ทำลายหนุ่มสาวมุสลิมในปัจจุบันนี้ โดยศัตรูได้ใช้สิ่งนี้เป็นเครื่องมือบั่นทอนกำลังของมุสลิม เพื่อให้พวกเขาห่างไกลจากศาสนา ทั้งนี้แม้กระทั่งในสังคมที่ไม่ใช่มุสลิมยาเสพติดเหล่านี้ก็เป็นสิ่งที่ต้องห้าม และหากใช้อย่างต่อเนื่องก็อาจะทำให้เสียสติได้ดังที่มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการวะศิยะฮฺ หรือคำสั่งเสีย ซึ่งเป็นสิ่งที่อิสลามสนับสนุนให้กระทำ อันเนื่องจากมีผลประโยชน์ต่อมุสลิม พร้อมระบุหลักฐานต่างๆ ที่ให้ความสำคัญในเรื่องดังกล่าวนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงสถานะอันสูงส่งของสตรีในมุมมองอิสลาม และการยกฐานะของสตรีเพศจากเดิมที่ถูกกดขี่ข่มเหงภายใต้ระบบญาฮิลียะฮฺและการลิดรอนสิทธิต่างๆ อย่างไม่เป็นธรรม เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อับดุศศอมัด อัดนาน ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายอันตรายของริบาหรือดอกเบี้ย ซึ่งเป็นบาปใหญ่ประการหนึ่งที่อัลลอฮฺห้ามอย่างหนัก มีผลที่ต้องรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งผู้ให้ ผู้รับ สักขีพยาน ผู้จดบันทึก รวมถึงฟัตวาบางข้อที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการใช้บัตรเครดิต เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย
อธิบายแนวคิดและคำแนะนำของอิสลามในการพิชิตปัญหาต่างๆ ในชีวิตของมนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นเรื่องที่ต้องประสบในชีวิตโดยไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้ หนังสือเล่มนี้ จึงได้กล่าวถึงแนวคิดและข้อเสนอแนะบางประการ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขเยียวยา หรือลดระดับความรุนแรงของปัญหาเหล่านั้นลง เป็น 25 คำแนะนำที่คัดสรรมาจากหนังสือ “40 วิธีพิชิตปัญหา” โดยเชคอับดุลมะลิก อัล-กอสิม
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสิ่งกั้นขณะละหมาด หรือที่เรียกว่าสุตเราะฮฺ พูดถึงความสำคัญและประโยชน์ของสุตเราะฮฺ และสิ่งที่ใช้สุตเราะฮฺ รวมถึงขอบเขตของสุตเราะฮฺที่ถือว่าใช้ได้แล้ว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน นักเขียน : มุหัมมัด อาดิล ฟาริส แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ตัวอย่างชีวประวัติของคนหนุ่มสาวเศาะหาบะฮฺที่เป็นกำลังสำคัญของอิสลามในหน้าประวัติศาสตร์อันรุ่งโรจน์ อาทิ อะลีย์ บิน อบีฏอลิบ, อิบนุ อุมัร, อัซ-ซุเบรฺ, อัสมาอ์, อิบนุ อับบาส, สะอัด บิน อบีวักกอศ, อัน-นุอฺมาน บิน บะชีร, มุอาซ บิน อัมรฺ และ มุเอาวิซ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ควรค่าแก่การศึกษาและเอาเยี่ยงอย่างสำหรับหนุ่มสาวในยุคปัจจุบัน
- ไทย นักเขียน : อับดุลร็อซซาก บิน อับดุลมุห์สิน อัล-อับบาด อัล-บัดรฺ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
กล่าวถึงความดีเจ็ดอย่างที่ส่งผลบุญต่อเนื่องหลังความตาย ที่มุสลิมควรมุ่งมั่นให้ความสำคัญในการปฏิบัติขณะที่เขายังมีชีวิตอยู่ คือ การบริจากกุศลทานถาวร(วะกัฟ) การสร้างมัสยิด การเผยแผ่ความรู้ การขุดแม่น้ำ การขุดบ่อ การปลูกต้นอินทผลัม การแจกจ่ายมุศหัฟ(อัลกุรอาน) การอบรมเลี้ยงดูบุตรให้เป็นคนดี
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อันวา สะอุ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความว่าด้วยการตักเตือนจากการบริโภคจากทรัพย์สินที่ได้มาโดยไม่ถูกต้องชอบธรรม พูดถึงคำสั่งห้ามไม่ให้กระทำดังกล่าวจากโองการอัลกุรอานและหะดีษ และอธิบายพิษภัยของมันจากคำสอนอิสลาม รวมถึงคำเตือนจากบรรดาผู้รู้ในยุคแรกของอิสลามเกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงฟิตนะฮฺหรือการทดสอบที่เกิดมาจากผู้หญิง รวบรวมหลักฐานจากอัลกุรอานและหะดีษ ที่อ้างถึงเรื่องดังกล่าว เพื่อให้มุสลิมได้ตระหนักและระมัดระวังไม่ให้ตกหลุมพรางและเป็นเหยื่อบททดสอบที่หนักหน่วงยิ่งนี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
รวมหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่กล่าวถึงความประเสริฐของสิบวันแรกเดือนซุลหิจญะฮฺ และพูดถึงการปฏิบัติความดีต่างๆ ที่มุสลิมควรให้ความสำคัญและมุ่งมั่นประกอบความดีในช่วงเวลานี้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของจารีตประเพณีและอิทธิพลของจารีตประเพณีที่มีต่อกฎหมายอิสลาม โดยมุ่งเน้นนำเสนอถึงอิทธิพลของจารีตประเพณีมีต่อมนุษย์และกฎหมายทั่วไป โดยเฉพาะกฎหมายอิสลาม ซึ่งถือว่ามีอิทธิพลมาก ทั้งนี้อาจเป็นในฐานะแหล่งที่มาหรือเป็นหลักการหนึ่งของการวินิจฉัยที่จำเป็นต้องพิจารณาในการใช้กฎหมาย ผลการศึกษาพบว่า จำเป็นอย่างยิ่งที่นักกฎหมายอิสลามจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับจารีตประเพณี ทั้งนี้เพื่อใช้ในการตีความ เพื่อเข้าใจในตัวบทกฎหมาย เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการค้นคว้าตำรากฎหมายเพื่อใช้เป็นข้อพิจารณาในการเข้าใจสถานการณ์ และสุดท้ายเพื่อใช้เป็นแนวในการเข้าใจมนุษย์ นอกจากนี้การวิเคราะห์เอกสาร พบว่าจารีตที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายนั้นจะต้องมีเงื่อนไขดังนี้คือ ต้องเป็นจารีตประเพณีที่ไม่ขัดกับตัวบท ต้องถูกยอมรับและใช้กันโดยทั่วไปหรือจากผู้คนส่วนใหญ่ ต้องเป็นที่ยังนิยมใช้กันอยู่ และต้องไม่มีคำยืนยันจากผู้ใช้ว่ามีเจตนาเป็นอย่างอื่นที่ผิดไปจากจารีตประเพณีดังกล่าว
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ข้อผิดพลาดในการละหมาด (2) กล่าวถึงข้อผิดพลาดบางประการเพิ่มเติมในการละหมาด เช่นการสวมเสื้อผ้ารัดรูป เสื้อผ้าบาง การใส่ชุดที่ไม่เหมาะสม เสื้อผ้าเลยตาตุ่ม การละหมาดสุนัตที่มัสยิดเป็นประจำโดยไม่เคยละหมาดสุนัตที่บ้านบ้าง การเปิดโทรศัพท์ขณะละหมาด การใส่เสื้อผ้าที่รูปสัตว์ขณะละหมาด เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
รวมหลักฐาน ข้อชี้แจงและเหตุผลในด้านต่างๆ ที่มีบทบัญญัติให้ผู้ชายมุสลิมไว้เครา และตอบข้อสงสัยบางประการที่บางคนเข้าใจผิดในประเด็นดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาน จารง ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงบทบัญญัติเกี่ยวกับการจ่ายซะกาตฟิฏรฺ หรือ ซะกาตฟิตเราะฮฺ ระบุหลักฐานจากหะดีษที่เป็นต้นบัญญัติของอะมัลดังกล่าว รวมถึงรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น จำนวนของซะกาต สิ่งใดที่ใช้ออกซะกาต ผู้ที่สามารถรับซะกาตฟิฏรฺได้ เป็นต้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทความอธิบายความประเสริฐที่ยิ่งใหญ่ของการละหมาดในยามค่ำคืนโดยเฉพาะในเดือนเราะมะฎอน กล่าวถึงรูปแบบต่างๆ ของการละหมาดวิติรฺในยามค่ำคืน ที่ปรากฎในแนวทางของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และอธิบายหุก่มการออกไปละหมาดของสตรีที่มัสยิด
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุษมาน อิดรีส ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้ถือศีลอด อาทิ การละเลยเวลาละหมาด การละทิ้งละหมาดญะมาอะฮฺ การอดนอนเพื่อดูสิ่งที่ไร้สาระ การสูบบุหรี่ การนอนกลางวันมากเกินไป การไม่ระวังคำพูดที่ไม่ดี ฯลฯ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : นิสรีน มะกูดี ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
บทเรียนจากความตาย อธิบายหลักฐานจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺเกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่ชีวิตทุกชีวิตมิอาจหลีกเลี่ยงได้พ้น เป็นสิ่งที่เราควรสำนึกและระลึกถึงให้มาก เพื่อใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการกลับตัวสู่อัลลอฮฺ ความเจ็บปวดที่จะเกิดขึ้นกับผู้ตายย่อมมีวิทยปัญญาบางประการแฝงไว้ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงทัศนะเกี่ยวกับการทำรูปภาพประเภทต่างๆ ลักษณะการใช้รูปภาพที่ต้องห้าม และที่อนุญาตเท่าที่จำเป็น รวมถึงผลเสียที่เกิดขึ้นจากการกระทำดังกล่าว เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อุศนา พ่วงศิริ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงมารยาทประการหนึ่งในการสวมใส่เสื้อผ้าในอิสลาม คือการไม่ปล่อยชายเสื้อผ้าให้ยาวเกินตาตุ่ม อธิบายหลักฐานที่เกี่ยวข้อง บทบัญญัติ และข้อเสียต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อร อัล-มุนตะกอฮฺ โดยเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์