- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
บทความ
จำนวนเนื้อหา: 858
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ฟัยซอล อับดุลฮาดี ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การถือศีลอดสุนัต ประเภทของการถือศีลอด ประเภทของการถือศีลอดสุนัต หุก่มการถือศีลอดวันเสาร์และวันอาทิตย์ วันต่าง ๆ ที่ห้ามถือศีลอด หุก่มการถือศีลอดหกวันในเดือนเชาวาลก่อนการถือศีลอดชดของเดือนเราะมะฎอน หุก่มการยกเลิกการถือศีลอดสุนัต จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : อาหมัด ฮูเซน อัลฟารีตีย์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
เราะมะฎอน อุทยานแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตศรัทธาชน เดือนเราะมะฎอนเป็นเดือนแห่งการถือศีลอด มีจุดประสงค์เพื่อฝึกอบรมและหล่อหลอมให้ผู้ศรัทธามีความสำรวมตนจากความชั่วและยำเกรงต่ออัลลอฮฺ ซึ่งเป็นสุดยอดคุณลักษณะที่ประเสริฐ กิจกรรมการฝึกอบรมและพัฒนาคุณภาพชีวิตในเดือนเราะมะฎอนจะไม่จบลงเพียงในภาคกลางวัน แต่จะต่อเนื่องไปจนถึงภาคกลางคืน ซึ่งเป็นห้วงเวลาที่ดีเยี่ยมสำหรับผู้ที่ปรารถนาจะตักตวงและแสวงการอภัยโทษและพระเมตตาจากอัลลอฮฺ ผู้ทรงยิ่งในความเมตตากรุณาปรานีและผู้ทรงอภัย
- ไทย นักเขียน : มัสลัน มาหะมะ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
โรคคร้านอิบาดะฮฺ อธิบายอาการและสาเหตุที่ทำให้เกิดความขี้เกียจและไม่กระตือรือร้นในการทำความดีต่างๆ รวมถึงระบุผลเสียที่เิกิดจากโรคดังกล่าว พร้อมทั้งแนะนำวิธีการแก้ไขเพื่อไม่ให้ปัญหานี้ลุกลามและทำลายบุคลิกภาพการเป็นมุสลิมที่ดี
- ไทย นักเขียน : อะหมัด ยูนุส สมะดี ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี
บทความที่กล่าวถึงวิธีการเตรียมพร้อมเพื่อต้อนรับเดือนเราะมะฎอนอันประเสริฐ เป็นการเน้นย้ำให้เห็นถึงความสำคัญของเดือนแห่งการถือศีลอด การกิยาม และการทำอะมัลอิบาดะฮฺต่างๆ ซึ่งถือเป็นเทศกาลที่สำคัญสำหรับมุสลิมทุกคนในการที่จะทำความดีและเพิ่มพูนความศรัทธาของตน
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน
อธิบายถึงความสำคัญของการระลึกถึงบุญคุณของพระผู้เป็นเจ้า และเป้าหมายหลักที่อัลกุรอานอุตส่าห์เรียกร้องให้มนุษย์รำลึกถึงบุญคุณและนิอฺมัตของอัลลอฮฺ คือ เพื่อต้องการให้พวกเขาขอบคุณอัลลอฮฺ และสำนึกตนด้วยการสำรวมอยู่ในคุณธรรมโดยไม่ละเมิดขอบเขตไปก่อความผิดบาป ซึ่งอาจจะเป็นโทษต่อตัวเขาเองและสังคมมนุษย์โดยรวม เพราะกี่มากน้อยในหมู่มนุษย์ที่ใช้นิอฺมัตในทางผิด เปลี่ยนบุญคุณเป็นการฝ่าฝืน และเป็นเหตุแห่งความหายนะในที่สุด
- ไทย นักเขียน : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
การทบทวนพิจารณาตนเองนั้นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญเป็นอย่างมาก จำเป็นจะต้องกระทำอย่างสม่ำเสมอ เพราะหากขาดการทบทวนแล้ว คนเราจะจมดิ่งอยู่ใต้ท้องทะเลแห่งความชั่วร้าย ความลุ่มหลง ที่จะสิ้นสุดยังไฟนรกซึ่งเชื้อเพลิงของมันนั้นคือ มนุษย์ และก้อนหิน.. ความเสื่อมโทรมในโลกดุนยานี้ ก็ล้วนแต่เกิดจากการที่บุคคลหรือสังคมไม่คิดถึงผลของการกระทำ ไม่คิดถึงการตอบแทนของเอกองค์อัลลอฮฺตะอาลา หรือจากผู้นำ หรือแม้แต่สังคมรอบข้าง.. และเมื่อใดที่บุคคลหรือสังคมไม่คำนึงถึงผลของการกระทำของตน พวกเขาเหล่านั้นก็จะทำทุกสิ่งทุกอย่างตามแต่ใจต้องการ และใช้ชีวิตดั่งม้าที่ไร้บังเหียน ไร้คนควบคุม และทำตัวคล้ายชาวนรกโดยที่รู้ตัว หรือไม่รู้ตัว
- ไทย นักเขียน : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
ชีวิตของมุอ์มินนั้น แท้จริงเปรียบได้ดั่งพ่อค้าใหญ่ ซึ่งเขาจำเป็นจะต้องตรวจเช็คบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองอยู่ตลอดเวลา และเมื่อครบหนึ่งปี เขาก็ไม่ลืมที่จะสรุปยอดบัญชีรายปีของเขา เพื่อที่จะได้รู้ถึงยอดสุทธิว่าได้กำไรหรือขาดทุน เขาจะต้องเป็นผู้ที่เฝ้าคอยตั้งคำถามแก่ตนเองอยู่ตลอดว่า : เขานั้นได้ พยายามนำพาชีวิตให้ใกล้ชิดกับความเมตตาของอัลลอฮฺมากน้อยแค่ไหน ? จิตใจของเขานั้นยังมั่นคงยึดมั่นอยู่กับการเคารพภักดีต่อพระองค์อยู่หรือไม่ ? และอีกหลาย ๆ คำถามที่จะทำให้ความภักดีที่เขามีต่ออัลลอฮฺนั้นเพิ่มพูนขึ้น
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ ความหมายการสุญูดสะฮฺวี เหตุผลที่มีบัญญัติการสุญูดสะฮฺวี สาเหตุต่างๆ ที่จำเป็นต้องสุญูดสะฮฺวี คำกล่าวในขณะที่สุญูดสะฮฺวี ผู้ที่ละหมาดไม่ทันอิมามจะสุญูดสะฮฺวีเมื่อใด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือ มุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วย สุนัตต่างๆ ในการละหมาด สิ่งที่ทำให้การละหมาดเสีย หุก่มการอิสติฆฺฟารฺหลังจากละหมาดฟัรฺฎฺ ลักษณะการซิกิรฺ หุก่มสำหรับผู้ที่ลุกขึ้นยืนโดยลืมนั่งตะชะฮฺฮุด หุก่มสำหรับผู้ที่ออกไปละหมาดญะมาอะฮฺ แต่พบว่าผู้คนต่างละหมาดเสร็จแล้ว หุก่มการกล่าวคำว่า “อามีน”ทั้งในละหมาดและนอกละหมาด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ อธิบายสิ่งที่เป็นวาญิบต่างๆ ของการละหมาด และอธิบายหุก่มผู้ที่ละเลยสิ่งที่วาญิบเหล่านั้น
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ อธิบายรุก่น หรือองค์ประกอบต่างๆ ของการละหมาด และอธิบายหุก่มผู้ที่ละเลยรุก่นหนึ่งรุก่นใดของการละหมาด และหุก่มการอ่านฟาติหะฮฺในละหมาด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ หุก่มต่างๆ ในการละหมาด หุก่มการอ่านสูเราะฮฺฟาติหะฮฺในละหมาด วิธีการเลิกละหมาดสำหรับผู้ที่มีหะดัษในระหว่างที่กำลังละหมาดอยู่ สิ่งที่มุสลิมต้องอ่านในละหมาด ช่วงเวลาที่ต้องหยุดนิ่งในละหมาด ดุอาอ์ต่างๆ ที่ใช้อิสติฟตาหฺนั้นแบ่งออกเป็นสามระดับ หุก่มการจงใจล่าช้าในการละหมาด การกระทำที่ควรหลีกเลี่ยง(มักรูฮฺ)ในระหว่างละหมาด หุก่มการมองซ้ายมองขวาในละหมาด หุก่มการทำสุตเราะฮฺ(ที่กั้น)ในระหว่างละหมาด หุก่มการเดินตัดหน้าผู้ละหมาด ช่วงเวลาการยกมือทั้งสองข้างขึ้นในละหมาด การกระทำที่อนุญาตให้ปฏิบัติได้ในระหว่างละหมาด หุก่มการอ่านเสียงดังสำหรับผู้ที่ละหมาดคนเดียว
- ไทย นักเขียน : อิสมาอีล ลุตฟี จะปะกียา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
จงฉกฉวยโอกาสในเวลายามเช้าตรู่ที่มีคุณค่ามากสำหรับชีวิตของเราในแต่ละวัน ซึ่งมีอยู่ในมัสยิดอันเป็นสถานที่ที่ดีที่สุด เพราะอากาศยามเช้านั้นช่างดีเหลือเกินสำหรับเรา มันเต็มไปด้วยความบะเราะกะฮฺในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้านจิตใจ หรือทางด้านความจำของสมอง หรือการตอบสนองของสมองที่มีสภาพสดใสและแข็งแรง โดยเฉพาะบรรดานักศึกษาและคณาจารย์ทั้งหลาย และจงต่อสู้กับอารมณ์ใฝ่ต่ำในยามเช้าที่คอยสร้างปัญหาอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตของเราในแต่ละวัน จนทำให้เราต้องสูญเสียเวลาอันมีค่านี้ไปอย่างไร้ประโยชน์
- ไทย นักเขียน : บรรจง บินกาซัน ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์
อธิบายความสำคัญและความจำเป็นที่จะต้องดูแลผู้สนใจอิสลาม และผู้ที่เพิ่งรับอิสลาม โดยการปฏิบัติตามมารยาทและแบบอย่างที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้เคยทำไว้เป็นตัวอย่างกับบรรดาผู้ที่ท่านเชิญชวนให้รับอิสลามในหมู่เศาะหาบะฮฺ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ เงื่อนไขของการละหมาด เครื่องแต่งกายในการละหมาด ขอบเขตเอาเราะฮฺของผู้ชายและผู้หญิง วิธีการชดละหมาดสำหรับผู้เดินทางที่ไม่ทันตื่นละหมาดอัลฟัจญรฺ หุก่มการเปลี่ยนเจตนาในระหว่างละหมาดอยู่ ลักษณะการแต่งกายในละหมาด สถานที่ละหมาด ผู้ที่มีประจำเดือนและผู้ที่มีญุนุบจะชดละหมาดอย่างไร วิธีการละหมาดสำหรับคนที่ไม่รู้ทิศทางกิบละฮฺ ผู้ที่ขาดสติจะชดใช้ละหมาดอย่างไร วิธีการชดละหมาดต่างๆ หุก่มสำหรับผู้ที่เผลอหลับโดยไม่ทันละหมาด หรือลืมละหมาด หุก่มการละหมาดด้วยการสวมใส่รองเท้า วิธีละหมาดของผู้ที่ไม่มีเสื้อผ้าใส่ มารยาทในการไปมัสญิด เมื่อเข้าไปในมัสญิดมุสลิมควรทำสิ่งใด หุก่มการนอนหลับในมัสญิด หุก่มการให้สลามแก่ผู้ที่กำลังละหมาดอยู่ หุก่มการจองที่ในมัสญิด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหา ความหมายการอะซานและอิกอมะฮฺ วิทยปัญญาการบัญญัติการอะซาน หุก่มการอะซานและอิกอมะฮฺ บรรดาผู้อะซานของท่านนบี(ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ทั้งสี่ท่าน ความประเสริฐของการอะซาน ลักษณะการอะซานที่มีรายงานและปรากฏอยู่ในสุนนะฮฺ เงื่อนไขที่ทำให้การอะซานใช้ได้ สิ่งที่สุนัตในการอะซาน หุก่มการอะซานก่อนเข้าเวลา สิ่งที่ควรกล่าวสำหรับผู้ที่ได้ยินเสียงอะซาน ความประเสริฐของการกล่าวตามมุอัซซิน พลังของการอะซาน หุก่มการเอาค่าจ้างในการอะซาน หุก่มสำหรับผู้ที่เข้าไปในมัสญิดในขณะมุอัซซินกำลังอะซาน ลักษณะการอิกอมะฮฺที่มีรายงานและปรากฏอยู่ในสุนนะฮฺ ผู้ที่อะซานคือผู้ที่อิกอมะฮฺ ลักษณะการอาซานในยามฝนตกหรือในสภาพอากาศที่หนาวจัด หุก่มการอะซานและอิกอมะฮฺในเวลาเดินทาง หุก่มการอะซานและอิกอมะฮฺในการละหมาดต่างๆ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ดานียา เจ๊ะสนิ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหา เวลาละหมาดที่วาญิบทั้งห้าเวลา จะละหมาดตอนไหนหากอยู่ในสภาพอากาศที่ร้อนจัด เวลาละหมาด หากอยู่ในสถานที่ที่ไม่สามารถแยกแยะเวลาได้
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาิทิ ความหมายของการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยการบนบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ บุคคลที่ถือว่าการบนบานของเขานั้นถูกต้อง บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่อ่อนแอไม่สามารถทำตามที่บนบานได้ บทบัญญัติว่ด้วยการบนบานในสิ่งที่เป็นความยากลำบาก ผู้ที่รับการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่บนบานการภักดีร่วมกับการฝ่าฝืน บทบัญญัติว่าด้วยผู้บนบานว่าจะถือศีลอดแต่แล้วไปตรงกับวันอีด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ ความหมายของการสาบาน การสาบานที่สมบรูณ์ บทบัญญัติว่าด้วยการสาบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ ประเภทของการสาบาน การจ่ายค่าชดใช้ (กัฟฟาเราะฮฺ) กรณีการสาบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ บทบัญญัติว่าด้วยการสาบาน บทบัญญัติว่าด้วยการผิดคำสาบาน เงื่อนไขจำเป็นต้องจ่ายค่าชดเชย (กัฟฟาเราะฮฺ) ลักษณะการจ่ายค่าชดเชย (กัฟฟาเราะฮฺ) บทบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าชดเชย (กัฟฟาเราะฮฺ) ก่อนที่จะผิดคำสาบาน แก่นแท้ของการสาบาน บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่ห้ามตัวเองจากสิ่งที่อนุมัติ (หะลาล) ยกเว้นกรณีการหย่าภรรยา บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่สาบานในสิ่งที่เป็นการฝ่าฝืน
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ การลงโทษเชิงตักเตือนและสั่งสอน (อัต-ตะอฺซีร) การลงโทษต่อผู้กระทำผิดมี 3 ประเภท วิทยปัญญาที่มีบทบัญญัติให้มีการลงโทษแบบตักเตือน บทบัญญัติว่าด้วยการตักเตือนหรือสั่งสอน (อัตตะอฺซีร) ประเภทของการตักเตือนหรือสั่งสอน (อัตตะอฺซีร) ชนิดของการตักเตือนหรือสั่งสอน การลงโทษแบบสั่งสอน การไถ่โทษ (กัฟฟาเราะฮฺ) ของคนที่จูบผู้หญิงอื่นที่ไม่อนุญาตแก่เขาและเขาได้เสียใจ