- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
จำนวนเนื้อหา: 352
- หน้าหลัก
- ภาษาหน้าหลัก : ไทย
- ภาษาของเนื้อหา : ไทย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาิทิ ความหมายของการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยการบนบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ บุคคลที่ถือว่าการบนบานของเขานั้นถูกต้อง บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่อ่อนแอไม่สามารถทำตามที่บนบานได้ บทบัญญัติว่ด้วยการบนบานในสิ่งที่เป็นความยากลำบาก ผู้ที่รับการบนบาน บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่บนบานการภักดีร่วมกับการฝ่าฝืน บทบัญญัติว่าด้วยผู้บนบานว่าจะถือศีลอดแต่แล้วไปตรงกับวันอีด
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ ความหมายของการสาบาน การสาบานที่สมบรูณ์ บทบัญญัติว่าด้วยการสาบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ ประเภทของการสาบาน การจ่ายค่าชดใช้ (กัฟฟาเราะฮฺ) กรณีการสาบานต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺ บทบัญญัติว่าด้วยการสาบาน บทบัญญัติว่าด้วยการผิดคำสาบาน เงื่อนไขจำเป็นต้องจ่ายค่าชดเชย (กัฟฟาเราะฮฺ) ลักษณะการจ่ายค่าชดเชย (กัฟฟาเราะฮฺ) บทบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าชดเชย (กัฟฟาเราะฮฺ) ก่อนที่จะผิดคำสาบาน แก่นแท้ของการสาบาน บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่ห้ามตัวเองจากสิ่งที่อนุมัติ (หะลาล) ยกเว้นกรณีการหย่าภรรยา บทบัญญัติว่าด้วยผู้ที่สาบานในสิ่งที่เป็นการฝ่าฝืน
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ บทลงโทษของการเสพสุรา วิทยปัญญาในการห้ามเสพสุรา หลักฐานยืนยันกำหนดโทษการเสพสุรา บทลงโทษของผู้ที่ดื่มสุรา บทบัญญัติว่าด้วยเรื่องยาเสพติด บทลงโทษของผู้เกี่ยวข้องยาเสพติด บทบัญญัติว่าด้วยสิ่งที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย (อัลมุฟัตติรอต)
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดย เชค มุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์ ประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ อาทิ ความหมายของการฟ้องร้อง องค์ประกอบของการฟ้องร้อง เงื่อนไขของการฟ้องร้องที่ถูกต้องสมบูรณ์ ลักษณะการตัดสินของผู้พิพากษา ลักษณะการตัดสินกับบุคคลที่ไม่ได้อยู่ต่อหน้า จะทำการฟ้องร้องที่ไหน บทบัญญัติว่าด้วยสาส์นจากผู้พิพากษาถึงผู้พิพากษา บทบัญญัติว่าด้วยผู้ถูกฟ้อง เป็นต้น
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดย เชค มุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์ อธิบายลักษณะวิธีการตัดสินพิพากษาคดีความของกอฎีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดย เชคมุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับมารยาทของผู้ทำหน้าที่พิพากษา สิ่งที่ผู้พิพากษาควรหลีกเลี่ยง เมื่อใดที่ผู้พิพากษาจะตัดสินด้วยสิ่งที่ตนรู้ ความประเสริฐของการสร้างสมานฉันท์ระหว่างมนุษยชาติและการเมตตาสงสารต่อพวกเขา บทบัญญัติว่าด้วยการตักเตือนคู่กรณีก่อนจะตัดสิน อันตรายที่เกิดจากการไม่ตัดสินตามบทบัญญัติแห่งอัลลอฮฺ ความแตกต่างระหว่างกอฎี (ผู้พิพากษา) และมุฟตี (ผู้ชี้ขาดปัญหาศาสนา)
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การพิพากษานั้น ประเด็นของมันคือการตัดสินเหตุการณ์ต่างๆ ของมนุษย์ ในด้านชีวิต ทรัพย์สิน และสิทธิทางด้านต่างๆ ของพวกเขา ด้วยเหตุนี้อันตรายที่เกิดจากการพิพากษาใหญ่หลวงยิ่งนัก เพราะเกรงว่าผู้พิพากษาจะเอนเอียงเข้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดของคู่กรณีพิพาท บางทีเนื่องจากเป็นญาติใกล้ชิด เป็นเพื่อนฝูง เป็นคนมีฐานะร่ำรวยโดยหวังผลประโยชน์อะไรบางอย่างงจากเขา เป็นผู้มีบารมีเพราะเกรงกลัวในอำนาจบารมีของเขา หรือจะด้วยเหตุผลในทำนองเดียวกันนี้
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
การตัดสินข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างมนุษย์นับเป็นความประเสริฐอย่างใหญ่หลวงสำหรับผู้ที่สามารถกระทำได้และมั่นใจว่าตนจะไม่กระทำในสิ่งที่อยุติธรรม มันยังเป็นการแสดงถึงความใกล้ชิดต่ออัลลอฮฺมากอีกประการหนึ่ง เพราะเป็นการสร้างความสมานฉันท์ให้แก่มนุษยชาติ ให้ความยุติธรรมแก่ผู้ที่ถูกอธรรม ขจัดผู้อธรรม ใช้ในเรื่องของความดีงาม ห้ามปรามเรื่องความชั่วช้า กำหนดบทลงโทษ มอบสิทธิต่างๆ ให้แก่เจ้าของ เป็นหน้าที่ของบรรดานบี อะลัยฮิมุศศอลาตุวัสลาม
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือ มุคตะศ็อร ฟิกฮิล อิสลามีย์ ประกอบด้วยเนื้อหาต่างๆ อาทิ ความหมายของเกาะฎออ์ (การพิพากษา) วิทยปัญญาของบทบัญญัติที่ให้มีการพิพากษา หุก่มหรือข้อตัดสินว่าด้วยการพิพากษา เงื่อนไขของผู้พิพากษา
- ไทย นักเขียน : ซุฟอัม อุษมาน ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์
ตัวอย่างบทบาทของมุสลิมะฮฺในการทำหน้าที่เป็นเสาหลักสำหรับคู่ชีวิตของนาง จากเรื่องเล่าของบรรดาภริยาท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะซัลลัม และเหล่าเศาะหาบิยาต ผู้เป็นบุปผชาติแห่งสวนสวรรค์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : อัสรัน นิยมเดชา สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อมูลว่าด้วย ดิยะฮฺหรือสินไหมชดเชยสำหรับการทำร้ายร่างกายที่ไม่ถึงขั้นเสียชีวิต ประเภทของดิยะฮฺสำหรับการทำร้ายร่างกายไม่ถึงชีวิต - ประเภทที่หนึ่ง ดิยะฮฺของอวัยวะหรือการเสียประโยชน์การใช้งานของอวัยวะดังกล่าว - ประเภทที่สอง ดิยะฮฺของบาดแผลที่ใบหน้า (ชัจญะฮฺ) หรือบาดแผลทั่วไป (ญุรูหฺ) บาดแผลห้าประเภทตามบทบัญญัติ - ประเภทที่สาม ดิยะฮฺของกระดูกที่แตกหัก อัตราดิยะฮฺของผู้หญิง จากหนังสือมุคตะ็ศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : รุสดี การีสา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อมูลว่าด้วยการจ่ายดิยะฮฺกรณีฆ่าคนตาย อาทิ หุก่มการจ่ายดิยะฮฺ ดิยะฮฺของอะฮฺลุลกิตาบ ดิยะฮฺของกาฟิร ดิยะฮฺของทารกในครรภ์ ผู้ที่ต้องจ่ายดิยะฮฺกรณีเกิดอุบัติเหตุ ใครที่ต้องรับผิดชอบจ่ายดิยะฮฺ ทรัพย์สินกลางต้องรับผิดชอบชำระหนี้สินและดิยะฮฺในกรณีต่างๆ การฆ่าชาวซิมมีย์ หุก่มการจ่ายดิยะฮฺเมื่อฆาตกรเสียชีวิต จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : รุสดี การีสา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
อธิบายข้อมูลว่าด้วยการทำร้ายร่างกายที่ไม่ถึงขั้นทำให้เสียชีวิต อาิทิ การทำร้ายส่วนต่างๆ ในร่างกายให้เกิดบาดแผลหรือขาดวิ่น รูปแบบการกิศอศในกรณีที่เจตนาทำร้ายร่างกาย เงื่อนไขการดำเนินการกิศอศกรณีทำให้ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเสียหาย เงื่อนไขการกิศอศกรณีสร้างรอยแผล ผลกระทบที่เกิดจากการทำร้าย ความยุติธรรมในการรักษาสิทธิ หุก่มผู้ที่แอบมองที่ส่วนตัวของผู้อื่น หุก่มการถ่ายเลือดให้ผู้อื่น จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : รุสดี การีสา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ข้อมูลว่าด้วย ญินายาต หรือความผิดฐานฆ่าผู้อื่น หรือทำร้ายร่างกาย อธิบาบความหมาย จุดประสงค์ของการบัญญัติบทลงโทษด้วยการกิศอศ ปัจจัยแห่งความจำเป็นทั้งห้าประการ ประเภทของสิทธิ บัญญัติว่าด้วยการฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด อัตตุวัยญิรีย์
- ไทย
- ไทย แปล : ซุฟอัม อุษมาน
หนึ่งในจำนวนเรื่องที่เราต้องให้ความสำคัญหลังจากที่ได้ปฏิบัติอะมัลไปแล้วก็คือ ประเด็นการตอบรับอะมัล ว่ามันถูกรับหรือไม่ ? เพราะการได้รับเตาฟีกให้ปฏิบัติอะมัลศอลิหฺนั้นถือว่าเป็นนิอฺมัตที่ยิ่งใหญ่ แต่ว่ามันจะไม่สมบูรณ์จนกว่าจะได้รับอีกนิอฺมัตหนึ่งที่ยิ่งใหญ่กว่านั่นคือนิอฺมัตการตอบรับจากอัลลอฮฺ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : อัสรัน นิยมเดชา ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
ข้อมูลว่าด้วยอัลฮัดย์ อัลอุฎหิยะฮฺ และอัลอะกีเกาะฮฺ ประกอบด้วย ความหมาย หุก่มอุฏหิยะฮฺ เงื่อนไขของอัลฮัดย์ อุฎหิยะฮฺ และอะกีเกาะฮฺ เวลาการเชือดอุฎหิยะฮฺ สิ่งต้องห้ามสำหรับผู้ที่ประสงค์จะเชือดอุฎหิยะฮฺ วิธีการเชือดแบบนะหัรฺและแบบซับหฺ ลักษณะของปศุสัตว์ที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในการเชือดอุฎหิยะฮฺ หุก่มและเวลาเชือดอะกีเกาะฮฺ หุก่มการแจ้งข่าวดีเมื่อมีบุตร เวลาสำหรับการตั้งชื่อบุตร การตั้งชื่อทารก จากหนังสือมุคตะศ็อร อัลฟิกฮิล อิสลามีย์
- ไทย นักเขียน : อะหมัด ยูนุส สมะดี ตรวจทาน : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์
บทความที่อธิบายถึงเป้าประสงค์สำคัญของอิบาดะฮฺหัจญ์ ซึ่งถือว่าเป็นอิบาดะฮฺอันยิ่งใหญ่ในอิสลาม และถูกกำหนดใหุ้มุสลิมที่มีความสามารถจำเป็นต้องปฏิบัติแม้เพียงแค่ครั้งเดียวในชีวิต การค้นหาจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของหัจญ์มีความสำคัญที่จะทำให้มุสลิมรู้จักนำบทเรียนในหัจญ์มาใช้ในทุกๆ ด้านของชีวิตประจำวัน ตามครรลองที่พระองค์อัลลอฮฺทรงพอพระทัย
- ไทย นักเขียน : อิสมาอีล ลุตฟี จะปะกียา แปล : ทีมงานภาษาไทย เว็บอิสลามเฮ้าส์
บทความว่าด้วยการส่งเสริมให้ทำการบริจาคทานในช่วงพิธีการหัจญ์ สำหรับหุจญาตผู้แสวงบุญ นำเสนอหลักฐานจากสุนนะฮฺที่ระบุถึงความประเสริฐของการทำทานที่เรียกว่า อัส-สิกอยะฮฺ วะ อัร-ริฟาดะฮฺ หรือการให้น้ำและอาหารแกุ่หุจญาต เพื่อเป็นปัจจัยที่จะช่วยให้ได้รับซึ่งหัจญ์มับรูรที่มีผลตอบแทนเป็นสวนสวรรค์
- ไทย แปล : อิสมาอีล อบูบักร์ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน
อิสลามได้ให้หลักการที่เกี่ยวข้องกับการทำการค้าขายไว้อย่างครบครันและเหมาะสม หลักการบางอย่างเป็นหลักพื้นฐานในภาพรวม บางอย่างอาจจะเป็นหลักการที่ให้รายละเอียดที่ชัดเจนตรงจุดและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องด้วยธรรมชาติของการทำธุรกิจที่อาจนำมาซึ่งความทุจริตและเอารัดเอาเปรียบได้ง่าย อิสลามจึงย้ำให้นักธุรกิจมุสลิมทำธุรกิจด้วยความเหมาะสม ยุติธรรม และอย่างมีจริยธรรม นักธุรกิจมุสลิมต้องให้ความสำคัญอย่างจริงจังกับหลักการพื้นฐานในอิสลาม ซึ่งเป็นสิ่งที่มุสลิมในสาขาอาชีพอื่นจำเป็นต้องให้ความสำคัญเช่นเดียวกัน หลักการที่สำคัญนั้น ได้แก่ ...