- กุรอานและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ซุนนะฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ความเชื่อและศรัทธา
- เตาฮีด
- อิบาดะฮฺ
- การเชิญชวนและวัฒนธรรมอิสลาม
- การศรัทธา
- ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับอีหม่าน
- อิหสาน
- การปฏิเสธศรัทธา
- การกลับกลอก
- การตั้งภาคี
- บิดอะฮฺ (อุตริกรรม)
- เศาะหาบะฮฺและวงศ์วานของท่านนบี
- การตะวัสสุล
- วะลายะฮฺและกะรอมาตเอาลิยาอ์
- ญิน
- วะลาอ์และบะรออ์
- อะฮฺลุซซุนนะฮฺวัลญะมาอะฮฺ
- ศาสนาต่างๆ
- กลุ่ม แนวคิด และศาสนาต่างๆ
- กลุ่มต่างๆในอิสลาม
- แนวความคิดร่วมสมัย
- ฟิกฮฺและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
- ฟิกฮฺอิบาดาต
- นิติศาสตร์ธุรกรรมการเงิน
- การบนบาน
- นิติศาสตร์ครอบครัว
- การแพทย์ การรักษา และการเสกเป่าตามหลักชะรีอะฮฺ
- อาหารและเครื่องดื่ม
- ความผิดทางอาญา
- นิติศาสตร์ว่าด้วยความขัดแย้งและการตัดสินความ
- การญิฮาด
- นิติศาสตร์ร่วมสมัย
- นิติศาสตร์ว่าด้วยชนกลุ่มน้อย
- การเมืองการปกครอง
- มัซฮับฟิกฮฺ
- ฟัตวา
- อุศูลุลฟิกฮฺ
- หนังสือเกี่ยวกับอัลฟิกฮฺ
- ความประสริฐของอามัลและฏออัตและสิ่งที่เกี่ยวข้อง
- ภาษาอาหรับ
- การเรียกร้องสู่ศาสนาของอัลลอฮ์
- มุสลิมต้องทำอะไร?
- การขัดเกลาจิตใจ และการตักเตือน
- การใช้ให้ทำความดีและยับยั้งความชั่ว
- สภาพการณ์การดะวะฮฺ
เนื้อหาทั้งหมด
จำนวนเนื้อหา: 1492
- ไทย
คำถาม: ฉันได้ยินจากอาจารย์สอนศาสนาท่านหนึ่งที่โรงเรียนของฉันว่าส่วนหนึ่งของอิบาดะฮฺที่ส่งเสริมให้กระทำคือการถือศีลอดในสิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ เพราะการปฏิบัติอะมัลศอลิหฺในช่วงสิบวันดังกล่าวเป็นอะมัลที่อัลลอฮฺทรงโปรดปรานที่สุด ถ้าคำพูดบอกเล่าของอาจารย์ท่านนั้นถูกต้อง และโดยทั่วไปแล้ววันที่สิบซุลหิจญะฮฺซึ่งเป็นวันที่ถัดจากวันอะเราะฟะฮฺจะเป็นวันแรกของวันตัชรีกซึ่งเป็นหนึ่งในบรรดาวันอีดสำหรับชาวมุสลิมที่กำลังประกอบพิธีหัจญ์และอื่นๆ และเท่าที่ฉันทราบ จะไม่อนุญาตให้ถือศีลอดในบรรดาวันอีดเหล่านั้น ดังนั้นไม่ทราบว่าท่านจะอธิบายอย่างไรในเมื่อไม่อนุญาตให้ถือศีลอดในวันที่สิบทั้งๆ ที่มันเป็นหนึ่งในบรรดาสิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ? และถ้าไม่อนุญาตให้ถือศีลอดในวันนั้นไม่ทราบว่าจะมีวันที่สิบอื่นแทนวันดังกล่าวหรือไม่? และถ้าฉันถือศีลอดในบรรดาสิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺดังกล่าวฉันจำเป็นต้องถือศีลอดครบสิบวันหรือไม่? เพราะฉันเคยถือศีลอดในวันที่หก เจ็ด แปด และเก้าเท่านั้น ไม่ได้ถือศีลอดวันที่สิบ? ตอบโดยเชค อับดุลอะซีซ บิน บาซ
- ไทย
คำถาม จากหะดีษที่ท่านนบีกล่าวว่า ผู้ประสงค์ทำกุรบานอุฎหิยะฮฺนั้น ห้ามไม่ให้ตัดผลและเล็บ หะดีษดังกล่าวได้เจาะจงเฉพาะผู้ที่ประกอบพิธีหัจญ์อย่างเดียวหรือหมายรวมผู้อื่นด้วยหรือไม่ และคำว่าเส้นผมนั้นหมายถึงเส้นผมบนศีรษะอย่างเดียวหรือหมายรวมถึงเส้นขนตามส่วนอื่นๆ ร่างกายด้วยหรือไม่ ? ตอบโดยเชค อับดุลอะซีซ บิน บาซ
- ไทย
คำถาม เป็นที่อนุญาตในศาสนาหรือไม่หากจะทำการอุฎหิยะฮฺ (เชือดสัตว์กุรบาน) โดยตั้งใจอุทิศกุศลนั้นให้เฉพาะแก่ผู้ที่ล่วงลับแล้ว เนื่องจากผู้คนทั่วไปได้ถือเป็นประเพณีปฏิบัติว่าเมื่อบิดา มารดา หรือญาติพี่น้องเสียชีวิตลง ก็จะต้องทำการอุฎหิยะฮฺ ด้วยการเชือดอูฐอุทิศผลบุญให้ในวันอีดดิลอัฎหาปีแรกของการเสียชีวิต อยากทราบว่าในศาสนาอนุญาตให้กระทำเช่นนั้นได้หรือไม่ สัตว์ชนิดใดที่สามารถนำมาเชือดเป็นอุฎหิยะฮฺได้ จะเป็นอูฐ วัว หรือ แพะ และเชือดสัตว์ชนิดใดที่ถือว่ามีความประเสริฐมากกว่ากัน ? ตอบโดยเชค อับดุลอะซีซ บิน บาซ
- ไทย ผู้บรรยาย : ซุฟอัม อุษมาน
คุฏบะฮฺวันศุกร์ กล่าวถึงคำสั่งของอัลลอฮฺที่ให้ผู้ศรัทธาเตรียมพร้อมสำหรับวันแห่งการตอบแทนในโลกอาคิเราะฮฺ และอย่าใช้ชีวิตบนโลกนี้ตามอำเภอใจด้วยความประมาท โดยไม่คำนึงถึงผลกรรมที่จะได้รับจากอัลลอฮฺในโลกแห่งการตอบแทน พร้อมทั้งให้รู้จักตรวจสอบตนเองอยู่เนืองนิจ
- ไทย ผู้บรรยาย : ซุฟอัม อุษมาน
คุฏบะฮฺวันศุกร์ อธิบายหะดีษที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้สั่งเสียไว้แก่ประชาชาติของท่านให้ใช้ชีวิตในโลกนี้ประหนึ่งคนแปลกหน้า หรือคนเดินทาง ซึ่งมีจุดหมายปลายทางอยู่ที่อีกโลกหนึ่งอันถาวร คือโลกแห่งการตอบแทนจากพระผู้เป็นเจ้าแห่งสากลโลก ทั้งนี้เพื่อให้มุสลิมสำนึกตนและไม่หลงอยู่กับกระแสบริโภคนิยมจนไม่ลืมหูลืมตา
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ยูซุฟ อบูบักรฺ ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยประเภทบุคคลที่สามารถรับมรดกแบบอะเศาะบะฮฺ หรือส่วนที่เหลือจากทายาทที่รับมรดกแบบอัตราส่วนที่กำหนด อธิบายสาเหตุที่ทำให้สามารถรับมรดกแบบนี้ได้ คือ เนื่องจากเชื้อสาย ทั้งที่รับโดยตนเอง รับเพราะเหตุแห่งคนอื่น หรือรับพร้อมกับคนอื่น และการรับมรดกเนื่องจากสาเหตุ
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยการที่อิสลามให้เกียรติและสิทธิแก่สตรี ในการรับมรดก อธิบายกรณีและส่วนต่างๆ ที่สตรีมีสิทธิในมรดก ทั้งนี้เป็นไปตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับความจำเป็นจริงๆ ตามลักษณะหน้าที่ของแต่ละเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายและหญิง
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยมรดกของผู้คนต่างศาสนา อธิบายกรณีที่อนุญาตและไม่อนุญาตให้บุคคลต่างศาสนาเป็นทายาทรับมรดกระหว่างกันได้
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยมรดกของทายาทที่ทำให้เจ้าของมรดกเสียชีวิต ซึ่งผู้ฆ่าจะไม่มีสิทธิรับมรดกได้ ทั้งในกรณีที่ฆ่าโดยเจตนาหรือไม่ได้เจตนา พร้อมอธิบายเหตุผลในเรื่องดังกล่าว
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซุกรีย์นูร จงรักศักดิ์ ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยมรดกของผู้ที่เสียชีวิตพร้อมๆ กันในอุบัติเหตุโดยเป็นบุคคลที่มีสิทธิรับมรดกของและกัน เช่น จมน้ำ ถูกไฟไหม้ ทำสงคราม ตกจากที่สูง อุบัติเหตุรถยนต์ เครื่องบิน รถไฟ หรืออื่นๆ อธิบายกรณีต่างๆ และการได้รับมรดกตามลักษณะของการเสียชีวิตก่อนหลัง
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยมรดกของผู้สาบสูญ อธิบายนิยามของผู้สาบสูญ บทบัญญัติเกี่ยวกับคนสาบสูญ และลักษณะต่างๆ ของผู้สาบสูญ รวมถึงวิธีการแบ่งมรดกตามลักษณะในแต่ละกรณี
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยการรับมรดกของกะเทย บุคคลที่มีสองเพศ หรือ อัล-คุนซา อธิบายความหมายและลักษณะการแบ่งมรดกของกะเทย รวมถึงวิธีจำแนกเพศของบุคคลที่มีสองเพศในตัว
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยมรดกของทารกในครรภ์มารดา อธิบายกรณีที่ทารกในครรภ์สามารถที่จะรับมรดกได้ และประเภทของผู้ตายที่มีทายาทเป็นทารกในครรภ์
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยการรับมรดกของเครือญาติ หรือ ซะวิลอัรหาม ที่ไม่มีส่วนกำหนดและไม่มีส่วนที่เหลือจากมรดก อธิบายประเภทของบุคคลเหล่านี้ และวิธีการได้มาซึ่งมรดกของพวกเขา
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยวิธีการร็อด หรือการส่งคืนส่วนแบ่งให้ทายาทที่มีสิทธิรับมรดกแบบส่วนกำหนด ซึ่งตรงกันข้ามกับการเอาลฺ อธิบายกรณีต่างๆ ที่มีการร็อด และยกตัวอย่างวิธีการร็อดในลักษณะต่างๆ ไว้เป็นกรณีศึกษา
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยวิธีการเอาลฺ หรือการเพิ่มขึ้นของค่าฐานปัญหา (อัศลุ อัล-มัสอะละฮฺ) เนื่องจากสัดส่วนของทายาทที่ต้องได้รับจากมรดก เป็นการอธิบายกรณีต่างๆ ที่มีการเอาลฺ และยกตัวอย่างวิธีการเอาลฺจากค่าฐานปัญหาในแต่ละกรณี
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยลักษณะวิธีการแบ่งมรดกตามหลักวิชาฟะรออิฎ ส่งเสริมให้มีการแบ่งทรัพย์สินแก่ผู้ร่วมในขณะทำการแบ่งมรดก รูปแบบปัญหาของการแบ่งมรดก
- ไทย นักเขียน : มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัต-ตุวัยญิรีย์ แปล : ซอบิร อับดุลกอเดร์ อุมา ตรวจทาน : ฟัยซอล อับดุลฮาดี สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
จากหนังสือมุคตะศ็อรฺ อัลฟิกฮิล อิสลามีย์ โดยเชค มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อัตตุวัยญิรีย์ ว่าด้วยวิธีการ ตะอ์ศีล อัล-มะสาอิล หรือการหาค่าฐานของปัญหาในการแบ่งมรดก โดยแยกประเภทต่างๆ ของปัญหาตามลักษณะความแตกต่างของทายาทผู้รบมรดก
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : อิสมาน จารง ตรวจทาน : ยูซุฟ อบูบักรฺ สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
กล่าวถึงความสำคัญของการคุชูอฺ หรือการมีสมาธิในการละหมาด โดยอธิบายให้เห็นถึงคุณค่าของการคุชูอฺ และแจกแจงสาเหตุต่างๆ ที่จะทำให้ได้มาซึ่งความคุชูอฺ ตามที่มีคำสอนจากอัลกุรอานและหะดีษ รวมถึงอธิบายสภาพของผู้ละหมาดในระดับต่างๆ และผลที่จะได้รับจากการละหมาดตามระดับนั้นๆ เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์
- ไทย นักเขียน : อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย์ แปล : ซุฟอัม อุษมาน สำนักพิมพ์ : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
สุนนะฮฺต่างๆ ที่สนับสนุนให้ปฏิบัติในวันอีด อาทิ การชำระร่างกายให้สะอาด การแต่งตัวให้สง่างาม การกินอาหารก่อนไปละหมาดอีด การละหมาดที่มุศ็อลลา การกล่าวตักบีรฺ การอวยพรวันอีด เป็นต้น เป็นบทความจากหนังสืออัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ ของเชคอะมีน อัช-ชะกอวีย์